ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | คณะเภสัชศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เภสัชศาสตร์ชีวภาพ)
วิชาเอก
จุดเด่นของหลักสูตร
เป็นหลักสูตรที่มีการบูรณาการระว่างสาขาวิชาจุลชีววิทยา ชีวเคมี เภสัชวิทยา และสรีรวิทยา คณาจารย์
มีประสบการณ์ การสอน การวิจัย และบริการวิชาการอย่างต่อเนื่อง มีเครือข่ายทั้งในและนอกประเทศ
มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ ได้รับการตอบรับจากหน่วยงานราชการและเอกชน ผู้ใช้บัณฑิต
ทั้งในและต่างประเทศ หลักสูตรได้ผลิตอาจารย์ให้แก่สถาบันการศึกษาอื่นๆ การปรับปรุงหลักสูตร
จึงมีโครงสร้างหลักสูตร และเนื้อหาอยู่บนฐานของการปฎิบัติจริง เน้นบูรณาการองค์ความรู้ด้าน
เภสัชศาสตร์ชีวภาพ เพื่อการค้นหา พัฒนา และควบคุมคุณภาพเภสัชภัณฑ์ต่างๆ
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
1. Holding one of the following degree: (1) Bachelor degree in Pharmacy, Sciences or related fields (2) Doctor of Pharmacy (Pharm.D.) (3) Master degree in Pharmacy, Sciences or related fields 2. GPA of 3.50 at least 3. Have an English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies 4. Other exceptions may be considered by the Program Director and the Dean of the Faculty of Graduate Studies
โครงสร้างหลักสูตร
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาแกน | 3 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี/เภสัชศาสตรบัณฑิต | |||
หมวดวิชาแกน | 3 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. A research scientist 2. A clinical research associate 3. A pharmaceutical product specialist
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 2
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
ภกภช๖๖๗ : สัมมนาเชิงบูรณาการทางเภสัชศาสตร์ชีวภาพ | 1 | ||
ภกภช๖๗๙ : หัวข้อปัจจุบันทางเภสัชศาสตร์ชีวภาพ | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สาขาวิชาเอกชีวเคมี | |||
M.Sc. graduated | |||
ภกชค๖๗๔ : ชีวเคมีทางชีวเภสัชศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
ภกชค๖๗๖ : ชีวเคมีคลินิกประยุกต์ | 3 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกชค๖๗๔ : ชีวเคมีทางชีวเภสัชศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
ภกชค๖๗๖ : ชีวเคมีคลินิกประยุกต์ | 3 | ||
สาขาวิชาเอกสรีรวิทยา | |||
M.Sc. graduated | |||
ภกสร๖๙๑ : ระบบควบคุมทางสรีรวิทยา | 3 | ||
ภกสร๖๙๒ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางสรีรวิทยา | 3 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกสร๖๙๑ : ระบบควบคุมทางสรีรวิทยา | 3 | ||
ภกสร๖๙๒ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางสรีรวิทยา | 3 | ||
วิชาเอกจุลชีววิทยา | |||
M.Sc. graduated | |||
ภกจช๖๘๔ : จุลชีววิทยาประยุกต์ทางเภสัชศาสตร์ | 3 | ||
ภกจช๖๘๖ : ผลิตภัณฑ์ชีวเภสัช | 3 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกจช๖๘๔ : จุลชีววิทยาประยุกต์ทางเภสัชศาสตร์ | 3 | ||
ภกจช๖๘๖ : ผลิตภัณฑ์ชีวเภสัช | 3 | ||
วิชาเอกเภสัชวิทยา | |||
M.Sc. graduated | |||
ภกภว๖๘๔ : หัวข้อพิเศษทางเภสัชวิทยา | 3 | ||
ภกภว๖๘๗ : เภสัชวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกภว๖๘๔ : หัวข้อพิเศษทางเภสัชวิทยา | 3 | ||
ภกภว๖๘๗ : เภสัชวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
All majors | |||
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ | 3 | ||
ภกคร๖๘๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยในเภสัชศาสตร์ ๑ | 2 | ||
ภกภช๖๖๘ : สัมมนาทางเภสัชศาสตร์ชีวภาพ | 1 | ||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สาขาวิชาเอกชีวเคมี | |||
ภกชค๖๗๐ : เมตาบอลิสมของมนุษย์ | 3 | ||
ภกชค๖๗๑ : เทคนิคทางชีวเคมีเพื่อการวิจัยและพัฒนายา | 3 | ||
ภกชค๖๗๒ : ปฏิบัติการเทคนิคทางชีวเคมี | 2 | ||
ภกชค๖๗๓ : หลักการวิเคราะห์สารชีวโมเลกุล | 3 | ||
ภกชค๖๗๕ : ความรู้ทางชีวเคมีของอาวุธเคมีและชีวภาพ | 3 | ||
สาขาวิชาเอกสรีรวิทยา | |||
ภกสร๖๗๒ : สรีรวิทยาของเซลล์ | 2 | ||
ภกสร๖๗๓ : ความก้าวหน้าทางพยาธิสรีรวิทยา | 3 | ||
ภกสร๖๙๓ : การสูงวัยและการชะลอวัย | 3 | ||
ภกสร๖๙๕ : สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบไต | 3 | ||
ภกสร๖๙๖ : สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบไหลเวียนโลหิต | 3 | ||
ภกสร๖๙๗ : สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบต่อมไร้ท่อ | 3 | ||
วิชาเอกจุลชีววิทยา | |||
ภกจช๖๖๔ : จุลชีววิทยาเภสัชอุตสาหกรรม | 3 | ||
ภกจช๖๖๕ : การประเมินคุณภาพและการควบคุมทางจุลชีววิทยา | 3 | ||
ภกจช๖๙๔ : เทคนิคทางชีวโมเลกุลสำหรับเภสัชศาสตร์ชีวภาพ | 3 | ||
ภกจช๖๙๕ : เทคนิคพื้นฐานในการเลี้ยงเซลล์สัตว์ | 2 | ||
วิชาเอกเภสัชวิทยา | |||
ภกภว๖๖๔ : สาระสำคัญทางพิษวิทยา | 3 | ||
ภกภว๖๖๖ : เทคนิคการคัดกรองยา ๑ | 3 | ||
ภกภว๖๗๘ : ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยา | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
M.Sc. graduated | |||
ภกภช๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกภช๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กฤษฎา ศักดิ์ชัยศรี (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ วิลาสินี หิรัญพานิช ซาโตะ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นรรฆวี แสงกลับ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผกากรอง วนไพศาล
- อาจารย์ สุเมธ จงรุจิโรจน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จตุรงค์ ประเทืองเดชกุล
- รองศาสตราจารย์ วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวรรณ กิจผาติ
- รองศาสตราจารย์ กฤษณ์ ถิรพันธุ์เมธี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาณัฐชัย ม้ายอุเทศ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรศักดิ์ วิชัยโย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธีรัตถ์ เหลืองมั่นคง
- อาจารย์ วสุ ศุภกรธนสาร
- รองศาสตราจารย์ จุฑามณี สุทธิสีสังข์
- รองศาสตราจารย์ มัลลิกา (ไตรเดช) ชมนาวัง
- รองศาสตราจารย์ จิระพรรณ จิตติคุณ
- อาจารย์ ชญานิน กีรติไพบูลย์
- อาจารย์ ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์
- รองศาสตราจารย์ วริสรา ปาริชาติกานนท์
- อาจารย์ พงศธร มีสวัสดิ์สม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เมธี ศรีประพันธ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปิยทิพย์ ขันตยาภรณ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณิสส์ เสงี่ยมสุนทร
- อาจารย์ อนันต์ชัย อัศวเมฆิน