ผู้สนใจเข้าศึกษา
เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชการ (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะเภสัชศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต(เภสัชการ)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ก แบบ ก ๑ (๑) สำเร็จการศึกษาหรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี เภสัชศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร ๖ ปี) ในสาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ หรือสาขาวิชาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยี จากสถาบันการศึกษาที่ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง หรือ (๒) สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีเภสัชศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร ๕ ปี) จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรม การการอุดมศึกษารับรอง และมีประสบการณ์การปฏิบัติงานในสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการหรือสาขาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๓) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๕) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวอาจได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้สมัคร เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แผน ก แบบ ก ๒ ๑) สำเร็จการศึกษาหรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี เภสัชศาสตรบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวอาจได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้สมัคร เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของ ประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๑ | |||
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 17 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 8 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 37 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิจัยหรือนักวิชาการด้านเภสัชการทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ผู้ปฏิบัติงานด้านการวิจัยและพัฒนา การผลิต และการประกันคุณภาพในอุตสาหกรรมยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ผู้ประกอบการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในประเทศและต่างประเทศ
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก1
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ภกภส๗๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ | 3 | ||
ภกคร๖๘๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยในเภสัชศาสตร์ ๑ | 2 | ||
ภกภก๖๐๑ : ชีวเภสัชศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
ภกภก๖๖๐ : เภสัชการขั้นสูง ๑ | 3 | ||
ภกภส๖๐๑ : สัมมนาทางเภสัชการ ๑ | 1 | ||
ภกภส๖๐๒ : สัมมนาทางเภสัชการ ๒ | 1 | ||
ภกภอ๖๔๑ : เทคนิคเครื่องมือวิจัยทางเภสัชการ | 1 | ||
ภกภอ๖๔๒ : เภสัชอุตสาหกรรมขั้นสูง ๑ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ภกภก๖๑๙ : เภสัชจลนศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
ภกภก๖๖๑ : เภสัชการขั้นสูง ๒ | 3 | ||
ภกภก๖๖๒ : วิทยาศาสตร์เวชสำอาง | 3 | ||
ภกภก๖๖๓ : การพัฒนาเภสัชผลิตภัณฑ์ ๑ | 3 | ||
ภกภส๖๐๓ : ปัญหาเฉพาะทางเภสัชการ | 2 | ||
ภกภอ๖๔๐ : การบริหารโรงงาน | 2 | ||
ภกภอ๖๔๓ : เภสัชอุตสาหกรรมขั้นสูง ๒ | 3 | ||
ภกภอ๖๔๔ : หน่วยการผลิตทางเภสัชกรรม | 2 | ||
ภกภอ๖๔๕ : เทคโนโลยีการวิเคราะห์กระบวนการผลิต | 2 | ||
ภกภอ๖๔๖ : การพัฒนาเภสัชผลิตภัณฑ์ ๒ | 3 | ||
ภกภอ๖๔๗ : การผลิตผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ภกภส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 24 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ สาธิต พุทธิพิพัฒน์ขจร (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ มนตรี จาตุรันต์ภิญโญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัญชลี จินตพัฒนากิจ
- ศาสตราจารย์ วราภรณ์ จรรยาประเสริฐ
- รองศาสตราจารย์ กอบธัม สถิรกุล
- รองศาสตราจารย์ ดวงดาว ฉันทศาสตร์
- ศาสตราจารย์ ณัฐนันท์ สินชัยพานิช
- รองศาสตราจารย์ พจวรรณ ลาวัณย์ประเสริฐ
- รองศาสตราจารย์ จิรพงศ์ สุขสิริวรพงศ์
- รองศาสตราจารย์ ผกาทิพย์ รื่นระเริงศักดิ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีรวัฒน์ ตีรณะชัยดีกุล
- รองศาสตราจารย์ วารี ลิมป์วิกรานต์
- รองศาสตราจารย์ กชพรรณ ชูลักษณ์
- รองศาสตราจารย์ ณัฐวุฒิ เจริญไทย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อมราพร วงศ์รักษ์พานิช
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญธิดา มระกูล
- รองศาสตราจารย์ จิราพร เลื่อนผลเจริญชัย