เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sh.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต(นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ)

จุดเด่นของหลักสูตร

เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการ การวิจัย และแนวคิดเชิงลึกครอบคลุมศาสตร์ทางด้านนโยบาย สาธารณะและการจัดการภาครัฐ ซึ่งจะทำให้บัณฑิตพร้อมรับและก้าวนำการเปลี่ยนแปลงขององค์การและ สังคม มีทักษะในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และสามารถนำเอาหลักการทางวิชาการไปประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาองค์การอย่างมีประสิทธิภาพโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ภายใต้หลักธรรมาภิบาลอย่างเป็นรูปธรรม

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

- หลักสูตรภาคปกติ
  (๑) ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ก  แบบ ก ๒
       (๑.๑) สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี หรือกำลังศึกษาในภาคเรียนสุดท้าย (อยู่ระหว่างรอผล
การสอบภาคเรียนสุดท้าย) ในระดับปริญญาตรีไม่จำกัดสาขาวิชา ในสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง  
       (๑.๒)	ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
       (๑.๓)	ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการ
คัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

-  หลักสูตรภาคพิเศษ
 (๑) ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ก แบบ ก ๒
      (๑.๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี ไม่จำกัดสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
      (๑.๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
      (๑.๓) มีประสบการณ์การทำงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๓ ปี โดยนับถึงวันรายงานตัวเข้าศึกษา
      (๑.๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้อ (๑.๒) และ (๑.๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัคร
เข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
		         
(๒) ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ข
      (๒.๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี ไม่จำกัดสาขาวิชา จากสถาบัน อุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง  
       (๒.๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
       (๒.๓) มีประสบการณ์การทำงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๓ ปี โดยนับถึงวันรายงาน
ตัวเข้าศึกษา
       (๒.๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้อ (๒.๒) และ (๒.๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัคร
เข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวม ไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวม ไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- นักวิจัยที่มีทักษะและศักยภาพด้านการทำวิจัยเพื่อพัฒนาหน่วยงานภาครัฐ
- ผู้บริหาร ผู้นำทางด้านการบริหารในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
- นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานราชการต่างๆ เช่น กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงาน ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสถานศึกษาระดับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมถึงหน่วยงานภาคเอกชน
- บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานด้านนโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สมนก๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3
สมนก๕๑๑ : ขอบข่ายและการศึกษาทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 3
สมนก๕๑๒ : การจัดการทุนมนุษย์ 3
สมนก๕๑๔ : การจัดการการคลัง 3
สมนก๕๑๕ : นโยบายสาธารณะ 3
สมนก๕๓๙ : สัมมนาประเด็นการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมกับนโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ 3
สมนก๕๔๐ : องค์การและการจัดการ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สมนก๕๑๗ : นโยบายสาธารณสุขและการแพทย์ 3
สมนก๕๑๘ : นโยบายและความเป็นผู้นำทางการศึกษา 3
สมนก๕๑๙ : นโยบายและการพัฒนาแรงงานสัมพันธ์ 3
สมนก๕๒๐ : นโยบายและยุทธศาสตร์ในความมั่นคงแห่งรัฐ 3
สมนก๕๒๑ : ยุทธศาสตร์ในการบริหารองค์กรส่วนท้องถิ่นและการพัฒนาชนบท 3
สมนก๕๒๒ : หลักการและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเมือง 3
สมนก๕๒๓ : กฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในภาครัฐ 3
สมนก๕๒๖ : การบริหารบริการสาธารณะและประชาสังคม 3
สมนก๕๓๑ : การวิเคราะห์และออกแบบองค์การ 3
สมนก๕๓๓ : การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3
สมนก๕๓๕ : พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ 3
สมนก๕๓๖ : การเจรจาต่อรองและการไกล่เกลี่ย 3
สมนก๕๓๗ : การพัฒนาองค์การ 3
สมนก๕๔๑ : จริยธรรมในการบริหารงานภาครัฐ 3
สมนก๕๔๒ : การบริหารเปรียบเทียบและบริหารการพัฒนาระหว่างประเทศ 3
สมนก๕๔๓ : การจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง 3
สมนก๕๔๔ : สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3
สมนก๕๔๕ : นโยบายสังคมและสวัสดิการสังคม 3
สมนก๕๔๖ : หลักการบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภค 3
สมนก๕๔๗ : การจัดการความหลากหลายในองค์กร 3
สมนก๕๔๘ : การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3
สมนก๕๔๙ : ยุทธศาสตร์การต่อต้านการทุจริตในภาครัฐ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สมนก๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สมนก๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3
สมนก๕๑๑ : ขอบข่ายและการศึกษาทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 3
สมนก๕๑๒ : การจัดการทุนมนุษย์ 3
สมนก๕๑๔ : การจัดการการคลัง 3
สมนก๕๑๕ : นโยบายสาธารณะ 3
สมนก๕๓๙ : สัมมนาประเด็นการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมกับนโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ 3
สมนก๕๔๐ : องค์การและการจัดการ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สมนก๕๑๗ : นโยบายสาธารณสุขและการแพทย์ 3
สมนก๕๑๘ : นโยบายและความเป็นผู้นำทางการศึกษา 3
สมนก๕๑๙ : นโยบายและการพัฒนาแรงงานสัมพันธ์ 3
สมนก๕๒๐ : นโยบายและยุทธศาสตร์ในความมั่นคงแห่งรัฐ 3
สมนก๕๒๑ : ยุทธศาสตร์ในการบริหารองค์กรส่วนท้องถิ่นและการพัฒนาชนบท 3
สมนก๕๒๒ : หลักการและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเมือง 3
สมนก๕๒๓ : กฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในภาครัฐ 3
สมนก๕๒๖ : การบริหารบริการสาธารณะและประชาสังคม 3
สมนก๕๓๑ : การวิเคราะห์และออกแบบองค์การ 3
สมนก๕๓๓ : การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3
สมนก๕๓๕ : พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ 3
สมนก๕๓๖ : การเจรจาต่อรองและการไกล่เกลี่ย 3
สมนก๕๓๗ : การพัฒนาองค์การ 3
สมนก๕๔๑ : จริยธรรมในการบริหารงานภาครัฐ 3
สมนก๕๔๒ : การบริหารเปรียบเทียบและบริหารการพัฒนาระหว่างประเทศ 3
สมนก๕๔๓ : การจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง 3
สมนก๕๔๔ : สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3
สมนก๕๔๕ : นโยบายสังคมและสวัสดิการสังคม 3
สมนก๕๔๖ : หลักการบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภค 3
สมนก๕๔๗ : การจัดการความหลากหลายในองค์กร 3
สมนก๕๔๘ : การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3
สมนก๕๔๙ : ยุทธศาสตร์การต่อต้านการทุจริตในภาครัฐ 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
สมนก๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6

อาจารย์ประจำหลักสูตร