ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและจริยศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sh.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ศาสนาและจริยศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน)
วิชาเอก
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
(๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง (๒) คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด (๓) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนด ในข้อ (๒) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) | |||
หมวดวิชาแกน | 10 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 10 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 4 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
สมศจ๕๐๑ : ศาสนศึกษา | 2 | ||
สมศจ๕๐๒ : จริยศาสตร์ | 2 | ||
สมศจ๕๐๓ : การพัฒนาและการพัฒนาที่ยั่งยืน | 2 | ||
สมศจ๕๐๔ : ศาสนาและจริยศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | 2 | ||
สมศจ๕๐๕ : สิทธิมนุษยชนและความยุติธรรมทางสังคม | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกศาสนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | |||
สมศจ๕๑๑ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการศึกษาศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน | 2 | ||
สมศจ๕๑๒ : ศาสนาในสังคม | 2 | ||
สมศจ๕๑๓ : ทฤษฎีและประเด็นร่วมสมัยทางการพัฒนา | 2 | ||
สมศจ๕๑๔ : ศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน | 2 | ||
สมศจ๕๑๕ : การจัดการโครงการพัฒนา | 2 | ||
วิชาเอกจริยศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | |||
สมศจ๕๒๑ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการศึกษาจริยศาสตร์กับการพัฒนาที่ยั่งยืน | 2 | ||
สมศจ๕๒๒ : จริยศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
สมศจ๕๒๓ : จริยศาสตร์เทคโนโลยี | 2 | ||
สมศจ๕๒๔ : จริยศาสตร์ในองค์กร | 2 | ||
สมศจ๕๒๕ : จริยศาสตร์ในทางปฏิบัติ | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สมศจ๕๑๖ : การผลักดันการพัฒนาที่ยั่งยืน | 2 | ||
สมศจ๕๑๗ : การวิเคราะห์นโยบายการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบททางศาสนา | 2 | ||
สมศจ๕๒๖ : ประเด็นจริยธรรมด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน | 2 | ||
สมศจ๕๓๑ : สานเสวนาเพื่อความเข้าใจมนุษย์และการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง | 2 | ||
สมศจ๕๓๒ : ความเคลื่อนไหวทางศาสนากับการพัฒนา | 2 | ||
สมศจ๕๓๓ : สัมมนาองค์กรศาสนาเพื่อการพัฒนา | 2 | ||
สมศจ๕๓๔ : สัมมนาศาสนากับประเด็นสุขภาพ | 1 | ||
สมศจ๕๓๕ : สัมมนาศาสนากับประเด็นเพศสภาวะ | 1 | ||
สมศจ๕๓๖ : สัมมนาศาสนากับนิเวศวิทยา | 1 | ||
สมศจ๕๓๗ : สัมมนาศาสนากับความเหลื่อมล้ำและการลดความยากจน | 2 | ||
สมศจ๕๓๘ : สัมมนาแนวทางเชิงคัมภีร์สำหรับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย | 2 | ||
สมศจ๕๓๙ : สัมมนาพุทธศาสนากับสุขภาวะทางร่างกายและจิตใจ | 2 | ||
สมศจ๕๔๑ : ชีวิตและความตาย | 2 | ||
สมศจ๕๔๒ : การพัฒนาองค์กรในขอบเขตจริยธรรม | 2 | ||
สมศจ๕๔๓ : จริยศาสตร์วิชาชีพ | 2 | ||
สมศจ๕๔๔ : จริยธรรมและสมรรถนะทางวัฒนธรรม | 2 | ||
สมศจ๕๔๕ : ปรัชญาและจริยศาสตร์ปัญญาประดิษฐ์ | 2 | ||
สมศจ๕๔๖ : การตรวจสอบจริยธรรมในองค์กร | 2 | ||
สมศจ๕๔๗ : เครื่องมือในการวิเคราะห์เชิงจริยศาสตร์ | 2 | ||
สมศจ๕๔๘ : จริยศาสตร์แห่งความอาทรเพื่อกลุ่มเปราะบาง | 1 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สมศจ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ กัณฐมณี ลดาพงษ์พัฒนา (ประธานหลักสูตร)
- อาจารย์ ภัททิรา ไทยทอแสง
- รองศาสตราจารย์ วุฒินันท์ กันทะเตียน
- รองศาสตราจารย์ อำนาจ ยอดทอง
- รองศาสตราจารย์ ปกรณ์ สิงห์สุริยา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์
- อาจารย์ จิดาภา คุ้มกลาง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธีรพัฒน์ อังศุชวาล
- อาจารย์ ปิยณัฐ ประถมวงษ์