ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sh.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข)
จุดเด่นของหลักสูตร
เป็นหลักสูตรสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ เน้นสังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา และเศรษฐศาสตร์
ประยุกต์ใช้ในการอธิบายสาเหตุและการป้องกันการเจ็บป่วย การบำรุงรักษาและฟื้นฟูสุขภาพ ตลอดจน
ความเข้าใจในเรื่องระบบสาธารณสุข และการวิจัยทางสังคมศาสตร์และสุขภาพ
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ๑.๒ แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) (๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขาวิชา (๒) คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด (๓) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๒) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แผน ๒ แบบวิชาชีพ (๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขาวิชา (๒) มีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๒ ปี (๓) คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน 2 แบบวิชาชีพ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
การค้นคว้าอิสระ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิจัย นักวิชาการ ระดับต้นและระดับกลางในองค์กรด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสังคมกลุ่มประชากรต่างๆ
- บุคลากรด้านสุขภาพระดับต้นและระดับกลาง
- ผู้ปฎิบัติงาน ผู้ประสานงาน หรือ ผู้จัดการองค์กรที่ขับเคลื่อนด้านการพัฒนาสุขภาพและสังคม
- นักวิจัยประเมินผลด้านสุขภาพและสังคม
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สมพส๕๐๕ : สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๖๕๗ : ทฤษฎีสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขเปรียบเทียบ | 3 | ||
สมพส๖๕๘ : แนวคิดทางสังคมศาสตร์ในประเด็นสุขภาพร่วมสมัย | 3 | ||
สมพส๖๖๘ : การวิจัยเชิงคุณภาพ | 3 | ||
สมพส๖๗๐ : ความรู้เบื้องต้นทางสังคมศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
สมพส๗๐๕ : สัมมนาประเด็นวิจัยทางสังคมศาสตร์และสุขภาพ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
กลุ่มรายวิชาด้าน ความไม่เป็นธรรมกับสุขภาพ | |||
สมพส๕๑๑ : ความไม่เป็นธรรมทางสังคมกับสุขภาพของผู้หญิง | 3 | ||
สมพส๕๑๓ : ความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพและตัวกำหนดสุขภาพทางสังคม | 3 | ||
สมพส๖๗๑ : ความเหลื่อมล้ำและความยุติธรรมสุขภาพ | 3 | ||
กลุ่มรายวิชาจิตวิทยาสังคมและพฤติกรรมสุขภาพ | |||
สมพส๕๓๒ : การปรับเปลี่ยนความคิด-พฤติกรรมในบริบทการส่งเสริมสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๖๗๒ : การสื่อสารทางสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๗๐๖ : วิธีการสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจในบริบทสังคมศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
กลุ่มรายวิชาประเด็นสุขภาพร่วมสมัย | |||
สมพส๖๗๓ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สุขภาพ และการพัฒนาที่ยั่งยืน | 3 | ||
สมพส๖๗๔ : การบริหารธุรกิจในเชิงสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๖๗๕ : สังคมศาสตร์ สิทธิการอนามัยเจริญพันธุ์และสิทธิทางเพศ | 3 | ||
สมสภ๕๔๐ : พลวัตรประชากรกับการสาธารณสุข | 3 | ||
กลุ่มรายวิชาด้านเครื่องมือในการปฏิบัติงาน | |||
สมพส๕๑๔ : ปฏิบัติการการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๑๖ : การศึกษาอิสระทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๖๗๖ : คุณธรรมและจริยธรรมในวิชาชีพสำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๖๗๗ : การวิจัยประเมินผลโครงการด้านสังคมและสุขภาพ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สมพส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สมพส๕๐๕ : สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๖๕๗ : ทฤษฎีสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขเปรียบเทียบ | 3 | ||
สมพส๖๕๘ : แนวคิดทางสังคมศาสตร์ในประเด็นสุขภาพร่วมสมัย | 3 | ||
สมพส๖๖๘ : การวิจัยเชิงคุณภาพ | 3 | ||
สมพส๖๖๙ : สัมมนาการวิจัยด้านอนามัยเจริญพันธุ์ | 3 | ||
สมพส๖๗๐ : ความรู้เบื้องต้นทางสังคมศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
กลุ่มรายวิชาด้าน ความไม่เป็นธรรมกับสุขภาพ | |||
สมพส๕๑๑ : ความไม่เป็นธรรมทางสังคมกับสุขภาพของผู้หญิง | 3 | ||
สมพส๕๑๓ : ความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพและตัวกำหนดสุขภาพทางสังคม | 3 | ||
สมพส๖๗๑ : ความเหลื่อมล้ำและความยุติธรรมสุขภาพ | 3 | ||
กลุ่มรายวิชาจิตวิทยาสังคมและพฤติกรรมสุขภาพ | |||
สมพส๕๓๒ : การปรับเปลี่ยนความคิด-พฤติกรรมในบริบทการส่งเสริมสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๖๗๒ : การสื่อสารทางสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๗๐๖ : วิธีการสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจในบริบทสังคมศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
กลุ่มรายวิชาประเด็นสุขภาพร่วมสมัย | |||
สมพส๖๗๓ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สุขภาพ และการพัฒนาที่ยั่งยืน | 3 | ||
สมพส๖๗๔ : การบริหารธุรกิจในเชิงสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๖๗๕ : สังคมศาสตร์ สิทธิการอนามัยเจริญพันธุ์และสิทธิทางเพศ | 3 | ||
สมสภ๕๔๐ : พลวัตรประชากรกับการสาธารณสุข | 3 | ||
กลุ่มรายวิชาด้านเครื่องมือในการปฏิบัติงาน | |||
สมพส๕๑๔ : ปฏิบัติการการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๑๖ : การศึกษาอิสระทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๖๗๖ : คุณธรรมและจริยธรรมในวิชาชีพสำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๖๗๗ : การวิจัยประเมินผลโครงการด้านสังคมและสุขภาพ | 3 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ ณัฐณีย์ มีมนต์ (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดรุณี ภู่ขาว
- รองศาสตราจารย์ เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์
- รองศาสตราจารย์ ภัทรียา กิจเจริญ
- รองศาสตราจารย์ ธรรมรัตน์ มะโรหบุตร
- รองศาสตราจารย์ Francois Rene Lamy
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สิทธิชัย ทองวร
- อาจารย์ ภัทรจิต จุมพล กอซโซลี
- รองศาสตราจารย์ เพ็ญจันทร์ ประดับมุข เชอร์เรอร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อังสุมาลี ผลภาค
- รองศาสตราจารย์ Mark Stephan Felix
- รองศาสตราจารย์ Seung Chun Paek
- รองศาสตราจารย์ โธมัส กวาดามูซ