ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sh.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข)
จุดเด่นของหลักสูตร
เป็นหลักสูตรสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ เน้นสังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา และเศรษฐศาสตร์
ประยุกต์ใช้ในการอธิบายสาเหตุและการป้องกันการเจ็บป่วย การบำรุงรักษาและฟื้นฟูสุขภาพ ตลอดจน
ความเข้าใจในเรื่องระบบสาธารณสุข และการวิจัยทางสังคมศาสตร์และสุขภาพ
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ก แบบ ก ๒ และแผน ข (๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขาวิชาหรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการ ศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ในกรณีที่คะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรต่ำกว่า ๒.๕๐ ต้องมีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี (๓) มีคะแนนความรู้ภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำในการรับเข้าศึกษาตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
- นักวิจัยด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
- ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรของรัฐและเอกชนด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
- นักประเมินผลด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
สมพส๕๒๓ : พื้นฐานเบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สมพส๕๐๖ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๐๗ : แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๐๘ : สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขประยุกต์ | 3 | ||
สมพส๕๐๙ : สัมมนาทฤษฎีและวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๑๔ : ปฏิบัติการการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สมพส๕๐๑ : สังคมวิทยาสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๐๒ : มานุษยวิทยาการแพทย์ | 3 | ||
สมพส๕๐๓ : จิตวิทยาสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๐๔ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๐๕ : สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๑๑ : ความไม่เป็นธรรมทางสังคมกับสุขภาพของผู้หญิง | 3 | ||
สมพส๕๑๒ : สังคมวิทยาสิทธิการเจริญพันธุ์และเพศสัมพันธ์ | 3 | ||
สมพส๕๑๓ : ความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพและตัวกำหนดสุขภาพทางสังคม | 3 | ||
สมพส๕๑๕ : ระบบสุขภาพและความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๑๖ : การศึกษาอิสระทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๑๗ : ตัวตน อัตลักษณ์ อนัตตาและสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๒๐ : มานุษยวิทยาการแพทย์และระบบสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๒๑ : อาหาร วัฒนธรรม และสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๒๒ : สังคมศาสตร์ ความพิการ และสูงวัย | 3 | ||
สมพส๕๓๐ : จิตวิทยาชุมชน | 3 | ||
สมพส๕๓๑ : จิตวิทยาการสื่อสาร | 3 | ||
สมพส๕๓๒ : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับรู้ทางบริบทการส่งเสริมสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๕๐ : กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์ | 3 | ||
สมพส๕๕๑ : กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๕๒ : กฎหมายการสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๕๓ : การเขียนผลงานทางวิชาการ | 3 | ||
สมพส๖๐๗ : การศึกษาดูงานในอาเซียนด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมสภ๕๔๐ : พลวัตรประชากรกับการสาธารณสุข | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
: | 0 |
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
สมพส๕๒๓ : พื้นฐานเบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สมพส๕๐๖ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๐๗ : แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๐๘ : สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขประยุกต์ | 3 | ||
สมพส๕๐๙ : สัมมนาทฤษฎีและวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๑๔ : ปฏิบัติการการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สมพส๕๐๑ : สังคมวิทยาสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๐๒ : มานุษยวิทยาการแพทย์ | 3 | ||
สมพส๕๐๓ : จิตวิทยาสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๐๔ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๐๕ : สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๑๑ : ความไม่เป็นธรรมทางสังคมกับสุขภาพของผู้หญิง | 3 | ||
สมพส๕๑๒ : สังคมวิทยาสิทธิการเจริญพันธุ์และเพศสัมพันธ์ | 3 | ||
สมพส๕๑๓ : ความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพและตัวกำหนดสุขภาพทางสังคม | 3 | ||
สมพส๕๑๕ : ระบบสุขภาพและความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๑๖ : การศึกษาอิสระทางสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๑๗ : ตัวตน อัตลักษณ์ อนัตตาและสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๒๐ : มานุษยวิทยาการแพทย์และระบบสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๒๑ : อาหาร วัฒนธรรม และสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๒๒ : สังคมศาสตร์ ความพิการ และสูงวัย | 3 | ||
สมพส๕๓๐ : จิตวิทยาชุมชน | 3 | ||
สมพส๕๓๑ : จิตวิทยาการสื่อสาร | 3 | ||
สมพส๕๓๒ : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับรู้ทางบริบทการส่งเสริมสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๕๐ : กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์ | 3 | ||
สมพส๕๕๑ : กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและสุขภาพ | 3 | ||
สมพส๕๕๒ : กฎหมายการสาธารณสุข | 3 | ||
สมพส๕๕๓ : การเขียนผลงานทางวิชาการ | 3 | ||
สมพส๖๐๗ : การศึกษาดูงานในอาเซียนด้านสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สมสภ๕๔๐ : พลวัตรประชากรกับการสาธารณสุข | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สมพส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สมสภ๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดรุณี ภู่ขาว
- รองศาสตราจารย์ เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์
- รองศาสตราจารย์ ภัทรียา กิจเจริญ
- รองศาสตราจารย์ ลือชัย ศรีเงินยวง
- รองศาสตราจารย์ ธรรมรัตน์ มะโรหบุตร
- รองศาสตราจารย์ ณัฐณีย์ มีมนต์
- รองศาสตราจารย์ Francois Rene Lamy
- อาจารย์ ภัทรจิต จุมพล กอซโซลี
- รองศาสตราจารย์ เพ็ญจันทร์ ประดับมุข เชอร์เรอร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อังสุมาลี ผลภาค
- รองศาสตราจารย์ Mark Stephan Felix
- รองศาสตราจารย์ Seung Chun Paek
- รองศาสตราจารย์ โธมัส กวาดามูซ