เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   29   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์และสุขภาพ 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sh.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สังคมศาสตร์และสุขภาพ)

จุดเด่นของหลักสูตร

เป็นหลักสูตรสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ เน้นสังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา และเศรษฐศาสตร์ ประยุกต์ใช้ในการอธิบายสาเหตุและการป้องกันการเจ็บป่วย การบำรุงรักษาและฟื้นฟูสุขภาพ ตลอดจน ความเข้าใจในเรื่องระบบสาธารณสุข และการวิจัยทางสังคมศาสตร์และสุขภาพ

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

แผน ก แบบ ก๒ และแผน ข
๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือกำลังศึกษาในภาคเรียนสุดท้าย โดยอยู่ระหว่างรอผลการสอบภาคเรียนสุดท้าย (ไม่จำกัดสาขาวิชา) ในสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษารับรอง
๒. ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ในกรณีที่คะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรต่ำกว่า ๒.๕๐ 
ต้องมีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี
๓. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้นอาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า
ศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- นักวิชาการด้านสังคมและสุขภาพ
- นักวิจัยที่มีทักษะด้านสังคมและสุขภาพ
- ผู้ปฎิบัติงานในองค์กรของรัฐและเอกชนด้านสังคมและสุขภาพ

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สมสภ๕๐๑ : สังคมวิทยาสุขภาพ 3
สมสภ๕๐๒ : มานุษยวิทยาการแพทย์ 3
สมสภ๕๐๓ : จิตวิทยาสุขภาพ 3
สมสภ๕๐๔ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๕๐๕ : สถิติสำหรับนักวิจัย 3
สมสภ๕๐๖ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สมพส๕๔๐ : พลวัตรประชากรกับการสาธารณสุข 3
สมสภ๕๑๐ : สังคมวิทยาสุขภาพเกี่ยวกับความเจ็บป่วยเรื้อรัง 3
สมสภ๕๑๑ : ความไม่เป็นธรรมทางสังคมกับสุขภาพของผู้หญิง 3
สมสภ๕๑๒ : สังคมวิทยาสิทธิการเจริญพันธุ์และเพศสัมพันธ์ 3
สมสภ๕๑๓ : ความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ 3
สมสภ๕๑๔ : โลกาภิวัตน์และความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพ 3
สมสภ๕๑๕ : ระบบสุขภาพและความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพ 3
สมสภ๕๑๖ : การศึกษาอิสระ 3
สมสภ๕๑๗ : ตัวตน อัตลักษณ์ อนัตตาและสุขภาพ 3
สมสภ๕๒๐ : มานุษยวิทยาการแพทย์และระบบสุขภาพ 3
สมสภ๕๒๑ : อาหาร วัฒนธรรม และสุขภาพ 3
สมสภ๕๒๒ : สังคมศาสตร์ ความพิการ และสูงวัย 3
สมสภ๕๓๐ : จิตวิทยาชุมชน 3
สมสภ๕๓๑ : จิตวิทยาการสื่อสาร 3
สมสภ๕๓๒ : การปรับเปลี่ยนความคิด พฤติกรรมในบริบทการส่งเสริมสุขภาพ 3
สมสภ๕๔๑ : พื้นฐานเศรษฐศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๕๕๐ : กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์ 3
สมสภ๕๕๑ : กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพอนามัย 3
สมสภ๕๕๒ : กฎหมายการสาธารณสุข 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สมสภ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สมสภ๕๐๑ : สังคมวิทยาสุขภาพ 3
สมสภ๕๐๒ : มานุษยวิทยาการแพทย์ 3
สมสภ๕๐๓ : จิตวิทยาสุขภาพ 3
สมสภ๕๐๔ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๕๐๕ : สถิติสำหรับนักวิจัย 3
สมสภ๕๐๖ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สมพส๕๔๐ : พลวัตรประชากรกับการสาธารณสุข 3
สมสภ๕๑๐ : สังคมวิทยาสุขภาพเกี่ยวกับความเจ็บป่วยเรื้อรัง 3
สมสภ๕๑๑ : ความไม่เป็นธรรมทางสังคมกับสุขภาพของผู้หญิง 3
สมสภ๕๑๒ : สังคมวิทยาสิทธิการเจริญพันธุ์และเพศสัมพันธ์ 3
สมสภ๕๑๓ : ความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ 3
สมสภ๕๑๔ : โลกาภิวัตน์และความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพ 3
สมสภ๕๑๕ : ระบบสุขภาพและความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพ 3
สมสภ๕๑๖ : การศึกษาอิสระ 3
สมสภ๕๑๗ : ตัวตน อัตลักษณ์ อนัตตาและสุขภาพ 3
สมสภ๕๒๐ : มานุษยวิทยาการแพทย์และระบบสุขภาพ 3
สมสภ๕๒๑ : อาหาร วัฒนธรรม และสุขภาพ 3
สมสภ๕๒๒ : สังคมศาสตร์ ความพิการ และสูงวัย 3
สมสภ๕๓๐ : จิตวิทยาชุมชน 3
สมสภ๕๓๑ : จิตวิทยาการสื่อสาร 3
สมสภ๕๓๒ : การปรับเปลี่ยนความคิด พฤติกรรมในบริบทการส่งเสริมสุขภาพ 3
สมสภ๕๔๑ : พื้นฐานเศรษฐศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๕๕๐ : กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์ 3
สมสภ๕๕๑ : กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพอนามัย 3
สมสภ๕๕๒ : กฎหมายการสาธารณสุข 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
สมสภ๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6

อาจารย์ประจำหลักสูตร