ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.en.mahidol.ac.th/eng/index.html |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ก แบบ ก๒ (๑) ผู้ที่สำเร็จการศึกษาหรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ สาขาวิชามนุษยศาสตร์ จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากข้อ (๒) ข้อ (๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ข (๑) เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษา ในหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ สาขาวิชามนุษยศาสตร์ จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลกรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) มีประสบการณ์การทำงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเมืองน่าอยู่ ไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๕) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจาก ข้อ (๒) - ข้อ (๔) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิชาการด้านการจัดการเมืองและสิ่งแวดล้อมยั่งยืน องค์กรรัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม องค์กรอิสระ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- นักพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ผังเมือง และผู้นำชุมชน
- เจ้าหน้าที่พัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนการบริหารจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
- นักปฏิบัติการและอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ผู้เชี่ยวชาญและบุคลากรทางการศึกษา
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สวมย๕๐๐ : การจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๐๑ : การคิดเชิงระบบและทัศนภาพระบบ | 3 | ||
สวมย๕๐๒ : การศึกษาทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและภูมินิเวศเมืองและชุมชน ในภาคสนาม | 1 | ||
สวมย๕๐๓ : บูรณาการวิจัยและสัมมนาเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๐๔ : การสำรวจ วิเคราะห์ภูมินิเวศของเมืองและบูรณาการการจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมยั่งยืน ในภาคสนาม | 2 | ||
สวมย๕๐๕ : การวางแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการเพื่อสิ่งแวดล้อมเมืองน่าอยู่ | 3 | ||
สวมย๕๐๖ : ภูมิปัญญานิเวศกับเมืองน่าอยู่ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สวมย๕๐๗ : การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมในเมือง | 3 | ||
สวมย๕๐๘ : นโยบายสาธารณะสิ่งแวดล้อมสำหรับธรรมาภิบาล | 3 | ||
สวมย๕๐๙ : กฏหมายสิ่งแวดล้อมและระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๑๐ : นวัตกรรมเพื่อการจัดการภัยพิบัติในเขตเมือง | 3 | ||
สวมย๕๑๑ : เมืองอัจฉริยะ | 3 | ||
สวมย๕๑๒ : การจัดการสัตว์ป่าในเมืองเพื่อความเป็นเมืองน่าอยู่ | 3 | ||
สวมย๕๑๓ : ภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๑๔ : ภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๑๕ : การศึกษาระบบนิเวศ-สังคม | 3 | ||
สวมย๕๑๖ : การวิเคราะห์การไหลเวียนของสสารและการสร้างและสลายในเมืองเพื่อการจัดการเมืองน่าอยู่ | 3 | ||
สวมย๕๑๗ : เศรษฐกิจชีวภาพ | 3 | ||
สวมย๕๑๘ : การประเมินความหลากหลายทางชีวภาพของป่าไม้และนิเวศวิทยาเพื่องานทางสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๑๙ : การสื่อสารสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๒๐ : นิเวศวิทยาศาสตร์และการวิเคราะห์ระบบ | 3 | ||
สวมย๕๒๑ : สิ่งแวดล้อมและพลังงานสีเขียวของเมืองที่ยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๒๒ : ข้อบังคับและกฎหมายสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๒๓ : สังคมคาร์บอนต่ำ | 3 | ||
สวมย๕๒๔ : องค์กรการเรียนรู้เพื่อความยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๒๕ : ภาวะผู้นำด้านสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สวมย๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สวมย๕๐๐ : การจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๐๑ : การคิดเชิงระบบและทัศนภาพระบบ | 3 | ||
สวมย๕๐๒ : การศึกษาทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและภูมินิเวศเมืองและชุมชน ในภาคสนาม | 1 | ||
สวมย๕๐๓ : บูรณาการวิจัยและสัมมนาเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๐๔ : การสำรวจ วิเคราะห์ภูมินิเวศของเมืองและบูรณาการการจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมยั่งยืน ในภาคสนาม | 2 | ||
สวมย๕๐๕ : การวางแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการเพื่อสิ่งแวดล้อมเมืองน่าอยู่ | 3 | ||
สวมย๕๐๖ : ภูมิปัญญานิเวศกับเมืองน่าอยู่ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สวมย๕๐๗ : การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมในเมือง | 3 | ||
สวมย๕๐๘ : นโยบายสาธารณะสิ่งแวดล้อมสำหรับธรรมาภิบาล | 3 | ||
สวมย๕๐๙ : กฏหมายสิ่งแวดล้อมและระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๑๐ : นวัตกรรมเพื่อการจัดการภัยพิบัติในเขตเมือง | 3 | ||
สวมย๕๑๑ : เมืองอัจฉริยะ | 3 | ||
สวมย๕๑๒ : การจัดการสัตว์ป่าในเมืองเพื่อความเป็นเมืองน่าอยู่ | 3 | ||
สวมย๕๑๓ : ภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๑๔ : ภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๑๕ : การศึกษาระบบนิเวศ-สังคม | 3 | ||
สวมย๕๑๖ : การวิเคราะห์การไหลเวียนของสสารและการสร้างและสลายในเมืองเพื่อการจัดการเมืองน่าอยู่ | 3 | ||
สวมย๕๑๗ : เศรษฐกิจชีวภาพ | 3 | ||
สวมย๕๑๘ : การประเมินความหลากหลายทางชีวภาพของป่าไม้และนิเวศวิทยาเพื่องานทางสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๑๙ : การสื่อสารสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๒๐ : นิเวศวิทยาศาสตร์และการวิเคราะห์ระบบ | 3 | ||
สวมย๕๒๑ : สิ่งแวดล้อมและพลังงานสีเขียวของเมืองที่ยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๒๒ : ข้อบังคับและกฎหมายสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สวมย๕๒๓ : สังคมคาร์บอนต่ำ | 3 | ||
สวมย๕๒๔ : องค์กรการเรียนรู้เพื่อความยั่งยืน | 3 | ||
สวมย๕๒๕ : ภาวะผู้นำด้านสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สวมย๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรันย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ จำลอง อรุณเลิศอารีย์
- รองศาสตราจารย์ จารุวรรณ วงค์ทะเนตร
- รองศาสตราจารย์ กาญจนา นาคะภากร
- รองศาสตราจารย์ กัมปนาท ภักดีกุล
- ศาสตราจารย์ สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชพงษ์ กลิ่นศรีสุข
- รองศาสตราจารย์ กิติกร จามรดุสิต
- อาจารย์ วิชญา รงค์สยามานนท์
- อาจารย์ รัตนะ บุลประเสริฐ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เพียงใจ พีระเกียรติขจร
- อาจารย์ บัณฑิต ชาญณรงค์
- อาจารย์ บุญลือ คะเชนทร์ชาติ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นวพร กาญจนศิรานนท์
- อาจารย์ นรินทร์ บุญตานนท์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิรทยา เริ่มมนตรี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กมลาภรณ์ คนองเดช
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย
- รองศาสตราจารย์ สุรีย์วัลย์ สิทธิจันดา
- รองศาสตราจารย์ สุกัญญา เสรีนนท์ชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรัณยา สุจริตกุล
- รองศาสตราจารย์ วิมล สอนแจ่ม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มณฑิรา ยุติธรรม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปิยะกาญจน์ เที้ยธิทรัพย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรียาพร เกิดฤทธิ์
- รองศาสตราจารย์ ปรมิตา พันธ์วงศ์
- รองศาสตราจารย์ นพพล อรุณรัตน์
- รองศาสตราจารย์ ธรรมรัตน์ พุทธไทย
- รองศาสตราจารย์ ณภัสนันท์ พสุการัชต์ชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จงดี โตอิ้ม
- รองศาสตราจารย์ กฤตณะ พฤกษากร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กอบแก้ว มโนมัยพิบูลย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กุลวดี แก่นสันติสุขมงคล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กันต์ ปานประยูร
- รองศาสตราจารย์ สุระ พัฒนเกียรติ
- รองศาสตราจารย์ สยาม อรุณศรีมรกต
- รองศาสตราจารย์ รัตนวัฒน์ ไชยรัตน์
- รองศาสตราจารย์ ประพฤติ เกิดสืบ
- ศาสตราจารย์ เบญจภรณ์ ประภักดี
- รองศาสตราจารย์ นาฏสุดา ภูมิจำนงค์
- รองศาสตราจารย์ นวลจันทร์ สิงห์คราญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันวิสาข์ ปั้นศักดิ์
- อาจารย์ ธัญภัทร ศาสตระบุรุษ
- อาจารย์ พิสุทธิ นาคหมื่นไวย
- อาจารย์ ภัทรา เสมอวงษ์