ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.ph.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(บริหารสาธารณสุข)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา แผน ๑.๒ แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) ๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาสาธารณสุขศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขศาสตร์ ๒) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุข ไม่น้อยกว่า ๑ ปี ๓) คุณสมบัติอื่นๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๔) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา แผน ๒ แบบวิชาชีพ (ศึกษารายวิชาและค้นคว้าอิสระ) ๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาสาธารณสุขศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขศาสตร์ ๒) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุข ไม่น้อยกว่า ๑ ปี ๓) คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๔) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) | |||
หมวดวิชาบังคับ | 19 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 5 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน 2 แบบวิชาชีพ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 19 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 11 | หน่วยกิต | |
การค้นคว้าอิสระ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารสาธารณสุขในหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ทำงานในตำแหน่งผู้บริหารสาธารณสุขระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง
- นักวิเคราะห์นโยบายและแผนด้านสาธารณสุข ในหน่วยงานระดับกระทรวง กรม สำนักงานเขตสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
- นักวิชาการด้านสาธาณสุข ในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรระหว่างประเทศ และสถาบันการศึกษาทุกระดับทั้งในภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยด้านการบริหารสาธารณสุขในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพในประเทศและต่างประเทศ
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สศคร๗๐๕ : วิทยาการระบาดและสถิติสำหรับการบริหารสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๐๒ : การบริหารงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๑๖ : นโยบายและการวางแผนสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๒๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๒๔ : จริยธรรมและกฎหมายสำหรับการบริหารสาธารณสุข | 1 | ||
สศบส๖๙๒ : การฝึกงานทางการบริหารสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๗๑๕ : ภาวะผู้นำ และพฤติกรรมองค์การ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ | 3 | ||
สศบส๖๒๙ : การเจรจาและการระงับข้อพิพาททางการแพทย์และสาธารณสุข | 2 | ||
สศบส๖๓๐ : การจัดการทรัพยากรสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๓๔ : การกำกับและประเมินผลในงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๓๕ : หัวข้อเฉพาะทางการบริหารงานสาธารณสุข | 2 | ||
สศบส๖๔๖ : หลักการบริหารโรงพยาบาล | 3 | ||
สศบส๖๔๘ : การจัดการการเงินและบัญชีโรงพยาบาล | 2 | ||
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๖๑ : การจัดการคุณภาพในโรงพยาบาล | 2 | ||
สศบส๖๖๒ : ประเด็นทางการจัดการโรงพยาบาลสมัยใหม่ | 2 | ||
สศบส๖๖๓ : เศรษฐศาสตร์โรงพยาบาล | 2 | ||
สศบส๖๖๔ : การบริหารกฎหมายการแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๗๕ : กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ | 2 | ||
สศบส๖๘๓ : เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๘๕ : การติดตามและการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๘๙ : การสื่อสารความเสี่ยงและเตรียมความพร้อมในการเผชิญภัยพิบัติ | 2 | ||
สศบส๖๙๕ : สัมมนาปัญหาทางสาธารณสุขและการบริหาร | 2 | ||
สศบส๗๐๘ : การวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๗๐๙ : การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๗๑๐ : การจัดการสถานประกอบการศูนย์สุขภาพดี | 3 | ||
สศบส๗๑๑ : กฎหมายปกครองสำหรับนักบริหารงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๗๑๒ : นโยบายสาธารณะและกฎหมายเพื่อสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๗๑๓ : การประยุกต์นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ | 2 | ||
สศบส๗๑๔ : การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สศบส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สศคร๗๐๕ : วิทยาการระบาดและสถิติสำหรับการบริหารสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๐๒ : การบริหารงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๑๖ : นโยบายและการวางแผนสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๒๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๒๔ : จริยธรรมและกฎหมายสำหรับการบริหารสาธารณสุข | 1 | ||
สศบส๖๙๒ : การฝึกงานทางการบริหารสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๗๑๕ : ภาวะผู้นำ และพฤติกรรมองค์การ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ | 3 | ||
สศบส๖๒๙ : การเจรจาและการระงับข้อพิพาททางการแพทย์และสาธารณสุข | 2 | ||
สศบส๖๓๐ : การจัดการทรัพยากรสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๓๔ : การกำกับและประเมินผลในงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๓๕ : หัวข้อเฉพาะทางการบริหารงานสาธารณสุข | 2 | ||
สศบส๖๔๖ : หลักการบริหารโรงพยาบาล | 3 | ||
สศบส๖๔๘ : การจัดการการเงินและบัญชีโรงพยาบาล | 2 | ||
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๖๑ : การจัดการคุณภาพในโรงพยาบาล | 2 | ||
สศบส๖๖๒ : ประเด็นทางการจัดการโรงพยาบาลสมัยใหม่ | 2 | ||
สศบส๖๖๓ : เศรษฐศาสตร์โรงพยาบาล | 2 | ||
สศบส๖๖๔ : การบริหารกฎหมายการแพทย์และสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๖๗๕ : กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ | 2 | ||
สศบส๖๘๓ : เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๘๕ : การติดตามและการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๘๙ : การสื่อสารความเสี่ยงและเตรียมความพร้อมในการเผชิญภัยพิบัติ | 2 | ||
สศบส๖๙๕ : สัมมนาปัญหาทางสาธารณสุขและการบริหาร | 2 | ||
สศบส๗๐๘ : การวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๗๐๙ : การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๗๑๐ : การจัดการสถานประกอบการศูนย์สุขภาพดี | 3 | ||
สศบส๗๑๑ : กฎหมายปกครองสำหรับนักบริหารงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศบส๗๑๒ : นโยบายสาธารณะและกฎหมายเพื่อสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๗๑๓ : การประยุกต์นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ | 2 | ||
สศบส๗๑๔ : การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สศบส๖๙๖ : การค้นคว้าอิสระ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุวนุช สัตยสมบูรณ์ (ประธานหลักสูตร)
- อาจารย์ อลงกรณ์ เปกาลี
- รองศาสตราจารย์ สุคนธา คงศีล
- ศาสตราจารย์ ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
- รองศาสตราจารย์ สุขุม เจียมตน
- รองศาสตราจารย์ มลินี สมภพเจริญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุคนธา ศิริ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐนารี เอมยงค์
- รองศาสตราจารย์ ปรารถนา สถิตย์วิภาวี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัย
- อาจารย์ สันต์ สุวรรณมณี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์
- อาจารย์ ระพีพันธ์ จอมมะเริง
- รองศาสตราจารย์ จุฑาธิป ศีลบุตร
- รองศาสตราจารย์ วิริณธิ์ กิตติพิชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรัณญา เบญจกุล
- รองศาสตราจารย์ ศริยามน ติรพัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Seo Ah Hong
- อาจารย์ อรวรรณ ขวัญศรี
- อาจารย์ อุทุมพร วงษ์ศิลป์