ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.ph.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร์)
วิชาเอก
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา ในสายวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง ๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้อ ๒) และ ข้อ ๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาแกน | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 11 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 4 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิชาการสาธารณสุข ด้านส่งเสริมพัฒนา ด้านบริการทางวิชาการ ในหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ตาม พ.ร.บ. ระบบสุขภาพปฐมภูมิ ๒๕๖๒ องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น (อบต. เทศบาล อบจ.) โรงพยาบาล สถาบันวิชาการของภาครัฐและเอกชน องค์การนอกภาครัฐ (Non-governmental organizations; NGOs) องค์กรอิสระ
- เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการในส่วนของสาธารณสุขระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
- นักวิจัย ในศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาล สถาบันวิชาการของภาครัฐและเอกชน องค์การนอกภาครัฐ (Non-governmental organizations; NGOs) องค์กรระหว่างประเทศ และองค์กรอิสระ
- ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ถ่ายทอดความรู้ในสถานศึกษา
- งานอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาชีพเฉพาะในวิชาเอก ดังนี้
- วิชาเอกการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน ๑) นักวิชาการด้านการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน ๒) นักวิจัยในหน่วยงานของรัฐ องค์กรอิสระ และเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบสุขภาพ
- วิชาเอกโภชนวิทยา ๑) นักโภชนาการ ในโรงพยาบาล สถาบันสุขภาพ สถานบริการอาหาร ๒) ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และนักวิจัยด้านอาหารและโภชนาการในหน่วยงานของรัฐและเอกชน หรือองค์กรต่าง ๆ
- วิชาเอกอนามัยครอบครัว ๑) นักวิชาการสาธารณสุข ด้านอนามัยครอบครัว ๒) นักวิจัยในหน่วยงานของรัฐ และเอกชนที่มีบทบาทพัฒนาสุขภาพประชาชนทุกช่วงวัยรวมทั้งการพัฒนาสุขภาพครอบครัวและชุมชน
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
สศชส๖๐๐ : ชีวสถิติ ก | 2 | ||
สศบส๖๗๒ : การบริหารงานสาธารณสุขทั่วไป | 2 | ||
สศรบ๖๑๙ : พื้นฐานทางวิทยาการระบาด | 2 | ||
สศสษ๖๒๐ : สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ | 2 | ||
สศอช๖๗๙ : สัมมนาทางสาธารณสุข | 1 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน | |||
สศอช๖๑๐ : เทคโนโลยีสารสนเทศและการเฝ้าระวังทางสุขภาพชุมชน | 2 | ||
สศอช๖๑๑ : การวิจัยทางระบบสุขภาพชุมชน | 2 | ||
สศอช๖๑๒ : การฝึกงานทางการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน | 2 | ||
สศอช๖๒๐ : การประเมินทางเศรษฐศาสตร์สำหรับการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน | 2 | ||
สศอช๖๘๐ : สุขภาพประชากรและการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน | 2 | ||
สศอช๖๘๙ : สัมมนาทางการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน | 1 | ||
วิชาเอกโภชนวิทยา | |||
สศภว๖๐๒ : โภชนาการสาธารณสุข | 3 | ||
สศภว๖๒๘ : อาหารและวิถีชีวิต | 2 | ||
สศภว๖๓๔ : บูรณาการวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ | 3 | ||
สศภว๖๓๖ : การวิจัยทางอาหารและโภชนาการ | 2 | ||
สศภว๖๕๗ : สัมมนาเพื่อการวิจัยทางโภชนวิทยา | 1 | ||
วิชาเอกอนามัยครอบครัว | |||
สศอค๕๒๖ : สุขภาพจิตครอบครัวและการให้คำปรึกษา | 2 | ||
สศอค๖๐๓ : การวิจัยทางอนามัยครอบครัว | 2 | ||
สศอค๖๐๕ : สัมมนาทางอนามัยครอบครัว | 1 | ||
สศอค๖๔๑ : ครอบครัวและอนามัยการเจริญพันธุ์ | 2 | ||
สศอค๖๔๒ : การวางแผนงานสุขภาพครอบครัว | 2 | ||
สศอค๖๔๕ : พัฒนาการเด็กและการอบรมเลี้ยงดู | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สศบส๖๐๙ : เศรษฐศาสตร์และการคลังในงานอนามัยชุมชน | 3 | ||
สศภว๖๑๙ : โภชนาการผู้สูงอายุ | 2 | ||
สศภว๖๒๕ : การให้คำปรึกษาและการสื่อสารด้านโภชนาการ | 2 | ||
สศภว๖๓๕ : นวัตกรรมทางอาหารและโภชนาการ | 2 | ||
สศภว๖๔๖ : การศึกษาอิสระ | 2 | ||
สศอค๖๑๑ : ชีวิตครอบครัวและเพศศึกษา | 2 | ||
สศอค๖๒๕ : การจัดการข้อมูลและการเขียนรายงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ | 2 | ||
สศอค๖๒๗ : ครอบครัวกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ | 2 | ||
สศอค๖๓๒ : การศึกษาดูงานต่างประเทศ | 2 | ||
สศอค๖๔๔ : สถานการณ์ปัจจุบันด้านอนามัยครอบครัว | 2 | ||
สศอช๖๐๓ : การฝึกภาคสนามพัฒนาสุขภาพชุมชน | 2 | ||
สศอช๖๑๖ : การประเมินผลกระทบสุขภาพชุมชน | 2 | ||
สศอช๖๑๙ : การเตรียมความพร้อมและการจัดการภัยพิบัติ | 2 | ||
สศอช๖๘๑ : ประชากรเปราะบางและสุขภาพโลกในยุคพลิกผัน | 2 | ||
สศอส๖๗๗ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน | |||
สศอช๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 | ||
วิชาเอกโภชนวิทยา | |||
สศภว๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 | ||
วิชาเอกอนามัยครอบครัว | |||
สศอค๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ สุธรรม นันทมงคลชัย (ประธานหลักสูตร)
- อาจารย์ จันทร์จิรา โพธิ์สัตย์
- อาจารย์ สมโชค กิตติสกุลนาม
- รองศาสตราจารย์ สุคนธา คงศีล
- รองศาสตราจารย์ พิทยา จารุพูนผล
- รองศาสตราจารย์ พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักดิ์
- รองศาสตราจารย์ ปิยะธิดา ขจรชัยกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดวงใจ บรรทัพ
- รองศาสตราจารย์ มลินี สมภพเจริญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐนารี เอมยงค์
- รองศาสตราจารย์ ณัฐกมล ชาญสาธิตพร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัย
- รองศาสตราจารย์ พร้อมลักษณ์ สรรพ่อค้า
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วศินา ทาเขียว
- รองศาสตราจารย์ ทัศนีย์ ศิลาวรรณ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฉัตรภา หัตถโกศล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อังสนา บุญธรรม
- รองศาสตราจารย์ เรวดี จงสุวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ พัชราณี ภวัตกุล
- รองศาสตราจารย์ สุภัทรา ลิลิตชาญ
- รองศาสตราจารย์ กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรวรรณ ยอดไม้
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุมาวดี เหลาทอง
- อาจารย์ ระพีพันธ์ จอมมะเริง
- รองศาสตราจารย์ อาภาพร เผ่าวัฒนา
- อาจารย์ ภูเบศร์ แสงสว่าง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Carol Hutchinson
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุวนุช สัตยสมบูรณ์
- รองศาสตราจารย์ วราภรณ์ เสถียรนพเก้า
- รองศาสตราจารย์ จุฑาธิป ศีลบุตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภัทร์ ไชยกุล
- รองศาสตราจารย์ วิริณธิ์ กิตติพิชัย
- รองศาสตราจารย์ มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์
- อาจารย์ จิรายุ หลายนามเพ็ชร
- อาจารย์ สุภาวดี พันธุมาศ