เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   19   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะสาธารณสุขศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.ph.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตรบัณฑิต พยาบาลศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิตทุกสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง
๒. ผลการศึกษาระดับปริญญาตรีได้แต้มระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ หรือมีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๕
๓. มีประสบการณ์การทำงานด้านสุขภาพหรือสาขาที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า ๑ ปี นับถึงวันสมัคร
๔. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 
๕. กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
๖. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดใน ๒.๒.๒ ถึง ๒.๒.๕ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้าศึกษาได้ โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 19            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 5            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 19            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 11            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้บริหารการสาธารณสุข
- นักวิชาการ
- นักวิจัยด้านสาธารณสุข
- นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
- งานอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สศคร๕๐๒ : แนวคิดและหลักการสาธารณสุขยุคใหม่ 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สศคร๖๐๔ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 3
สศคร๖๔๕ : นโยบายสุขภาพและการจัดการ 3
สศคร๖๖๙ : การพัฒนาทักษะด้านสาธารณสุขและภาวะผู้นำ 2
สศคร๗๐๑ : สัมมนาการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในงานสาธารณสุข 2
สศคร๗๒๑ : สถิติและการวิจัยทางสาธารณสุข 3
สศรบ๖๐๒ : หลักวิทยาการระบาด 3
สศสษ๗๒๖ : พฤติกรรมศาสตร์สาธารณสุข1 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สศคร๖๒๔ : เทคนิคการควบคุมโรคและสิ่งแวดล้อม 3
สศคร๗๐๔ : การวิจัยทางสาธารณสุข 3
สศคร๗๒๒ : สาธารณสุขโลก 2
สศจว๖๐๒ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 3
สศชส๖๕๐ : เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 3
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ 3
สศบส๖๐๙ : เศรษฐศาสตร์และการคลังในงานอนามัยชุมชน 3
สศบส๖๔๕ : สาธารณสุขมูลฐาน 3
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ 3
สศบส๖๗๑ : ระบบสุขภาพและการพัฒนา 3
สศบส๖๗๓ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ : ทฤษฎีและทางเลือกนโยบาย 3
สศบส๖๗๘ : การจัดทำนโยบายสาธารณสุข ดำเนินการ และการประเมินผล 2
สศภว๖๐๒ : โภชนาการสาธารณสุข 3
สศรบ๖๓๒ : วิธีการศึกษาทางวิทยาการระบาดและการสำรวจโรคในช่องปาก 3
สศรบ๖๓๔ : การศึกษาพิเศษการวิจัยสุขภาพในช่องปาก 3
สศสษ๖๓๖ : การพัฒนาสื่อในงานสาธารณสุข 3
สศอช๖๐๙ : การเตรียมพร้อมและการจัดการอุบัติภัย 3
สศอช๖๑๗ : สุขภาพประชากรและการพัฒนาบริการอนามัยชุมชน 3
สศอช๖๗๘ : สัมมนาปัญหาสาธารณสุขและบริการสุขภาพ 3
สศอส๖๕๙ : เทคโนโลยีอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ 3
สศอส๖๖๐ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ 3
สศอส๖๗๔ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สศคร๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สศคร๕๐๒ : แนวคิดและหลักการสาธารณสุขยุคใหม่ 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สศคร๖๐๔ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 3
สศคร๖๔๕ : นโยบายสุขภาพและการจัดการ 3
สศคร๖๖๙ : การพัฒนาทักษะด้านสาธารณสุขและภาวะผู้นำ 2
สศคร๗๐๑ : สัมมนาการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในงานสาธารณสุข 2
สศคร๗๒๑ : สถิติและการวิจัยทางสาธารณสุข 3
สศรบ๖๐๒ : หลักวิทยาการระบาด 3
สศสษ๗๒๖ : พฤติกรรมศาสตร์สาธารณสุข1 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สศคร๖๒๔ : เทคนิคการควบคุมโรคและสิ่งแวดล้อม 3
สศคร๗๐๔ : การวิจัยทางสาธารณสุข 3
สศคร๗๒๒ : สาธารณสุขโลก 2
สศจว๖๐๒ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 3
สศชส๖๕๐ : เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 3
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ 3
สศบส๖๐๙ : เศรษฐศาสตร์และการคลังในงานอนามัยชุมชน 3
สศบส๖๔๕ : สาธารณสุขมูลฐาน 3
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ 3
สศบส๖๗๑ : ระบบสุขภาพและการพัฒนา 3
สศบส๖๗๓ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ : ทฤษฎีและทางเลือกนโยบาย 3
สศบส๖๗๘ : การจัดทำนโยบายสาธารณสุข ดำเนินการ และการประเมินผล 2
สศภว๖๐๒ : โภชนาการสาธารณสุข 3
สศรบ๖๓๒ : วิธีการศึกษาทางวิทยาการระบาดและการสำรวจโรคในช่องปาก 3
สศรบ๖๓๔ : การศึกษาพิเศษการวิจัยสุขภาพในช่องปาก 3
สศสษ๖๓๖ : การพัฒนาสื่อในงานสาธารณสุข 3
สศอช๖๐๙ : การเตรียมพร้อมและการจัดการอุบัติภัย 3
สศอช๖๑๗ : สุขภาพประชากรและการพัฒนาบริการอนามัยชุมชน 3
สศอช๖๗๘ : สัมมนาปัญหาสาธารณสุขและบริการสุขภาพ 3
สศอส๖๕๙ : เทคโนโลยีอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ 3
สศอส๖๖๐ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ 3
สศอส๖๗๔ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
สศคร๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐนารี เอมยงค์   (รักษาการแทนประธานหลักสูตร)
  2. รองศาสตราจารย์ สุขุม เจียมตน
  3. รองศาสตราจารย์ สุคนธา คงศีล
  4. รองศาสตราจารย์ อาภาพร เผ่าวัฒนา
  5. รองศาสตราจารย์ แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ
  6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัชวาล สิงหกันต์
  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณิชชาภัทร ขันสาคร
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนาศรี สีหะบุตร
  9. รองศาสตราจารย์ มลินี สมภพเจริญ
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุวนุช สัตยสมบูรณ์
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรกมล บุณยโยธิน
  12. รองศาสตราจารย์ วิริณธิ์ กิตติพิชัย
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรัณญา เบญจกุล
  14. รองศาสตราจารย์ พัชราณี ภวัตกุล
  15. รองศาสตราจารย์ มณฑา เก่งการพานิช
  16. รองศาสตราจารย์ มธุรส ทิพยมงคลกุล
  17. รองศาสตราจารย์ เรวดี จงสุวัฒน์
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุคนธา ศิริ
  19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุมาวดี เหลาทอง
  20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาทิตย์ โพธิ์ศรี
  21. อาจารย์ จิราลักษณ์ นนทารักษ์
  22. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนกฤต เนียมหอม
  23. อาจารย์ ประภัสสร เพ็ชรกิจ
  24. อาจารย์ สิริลักษณ์ ดุสิตสิทธิพร