ผู้สนใจเข้าศึกษา
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.ph.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
จุดเด่นของหลักสูตร
หลักสูตรมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพในทุกระดับสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดและ
วางแผนแก้ไขปัญหาสาธารณสุข มีสมรรถนะการพัฒนาระบบสุขภาพมีทักษะในการสื่อสารและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสุข
รวมทั้งการทำงานวิจัยด้านสาธารณสุขได้
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตรบัณฑิต พยาบาลศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิตทุกสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง ๒. ผลการศึกษาระดับปริญญาตรีได้แต้มระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ หรือมีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๕ ๓. มีประสบการณ์การทำงานด้านสุขภาพหรือสาขาที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า ๑ ปี นับถึงวันสมัคร ๔. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ๕. กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ๖. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดใน ๒.๒.๒ ถึง ๒.๒.๕ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้าศึกษาได้ โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 19 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 5 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 19 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 11 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้บริหารการสาธารณสุข
- นักวิชาการ
- นักวิจัยด้านสาธารณสุข
- นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
- งานอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
สศคร๕๐๒ : แนวคิดและหลักการสาธารณสุขยุคใหม่ | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๐๔ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย | 3 | ||
สศคร๖๔๕ : นโยบายสุขภาพและการจัดการ | 3 | ||
สศคร๖๖๙ : การพัฒนาทักษะด้านสาธารณสุขและภาวะผู้นำ | 2 | ||
สศคร๗๐๑ : สัมมนาการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในงานสาธารณสุข | 2 | ||
สศคร๗๒๑ : สถิติและการวิจัยทางสาธารณสุข | 3 | ||
สศรบ๖๐๒ : หลักวิทยาการระบาด | 3 | ||
สศสษ๗๒๖ : พฤติกรรมศาสตร์สาธารณสุข1 | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๒๔ : เทคนิคการควบคุมโรคและสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สศคร๗๐๔ : การวิจัยทางสาธารณสุข | 3 | ||
สศคร๗๒๒ : สาธารณสุขโลก | 2 | ||
สศจว๖๐๒ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ | 3 | ||
สศชส๖๕๐ : เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ | 3 | ||
สศบส๖๐๙ : เศรษฐศาสตร์และการคลังในงานอนามัยชุมชน | 3 | ||
สศบส๖๔๕ : สาธารณสุขมูลฐาน | 3 | ||
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๗๑ : ระบบสุขภาพและการพัฒนา | 3 | ||
สศบส๖๗๓ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ : ทฤษฎีและทางเลือกนโยบาย | 3 | ||
สศบส๖๗๘ : การจัดทำนโยบายสาธารณสุข ดำเนินการ และการประเมินผล | 2 | ||
สศภว๖๐๒ : โภชนาการสาธารณสุข | 3 | ||
สศรบ๖๓๒ : วิธีการศึกษาทางวิทยาการระบาดและการสำรวจโรคในช่องปาก | 3 | ||
สศรบ๖๓๔ : การศึกษาพิเศษการวิจัยสุขภาพในช่องปาก | 3 | ||
สศสษ๖๓๖ : การพัฒนาสื่อในงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศอช๖๐๙ : การเตรียมพร้อมและการจัดการอุบัติภัย | 3 | ||
สศอช๖๑๗ : สุขภาพประชากรและการพัฒนาบริการอนามัยชุมชน | 3 | ||
สศอช๖๗๘ : สัมมนาปัญหาสาธารณสุขและบริการสุขภาพ | 3 | ||
สศอส๖๕๙ : เทคโนโลยีอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ | 3 | ||
สศอส๖๖๐ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ | 3 | ||
สศอส๖๗๔ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
สศคร๕๐๒ : แนวคิดและหลักการสาธารณสุขยุคใหม่ | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๐๔ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย | 3 | ||
สศคร๖๔๕ : นโยบายสุขภาพและการจัดการ | 3 | ||
สศคร๖๖๙ : การพัฒนาทักษะด้านสาธารณสุขและภาวะผู้นำ | 2 | ||
สศคร๗๐๑ : สัมมนาการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในงานสาธารณสุข | 2 | ||
สศคร๗๒๑ : สถิติและการวิจัยทางสาธารณสุข | 3 | ||
สศรบ๖๐๒ : หลักวิทยาการระบาด | 3 | ||
สศสษ๗๒๖ : พฤติกรรมศาสตร์สาธารณสุข1 | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๒๔ : เทคนิคการควบคุมโรคและสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
สศคร๗๐๔ : การวิจัยทางสาธารณสุข | 3 | ||
สศคร๗๒๒ : สาธารณสุขโลก | 2 | ||
สศจว๖๐๒ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ | 3 | ||
สศชส๖๕๐ : เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ | 3 | ||
สศบส๖๐๙ : เศรษฐศาสตร์และการคลังในงานอนามัยชุมชน | 3 | ||
สศบส๖๔๕ : สาธารณสุขมูลฐาน | 3 | ||
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ | 3 | ||
สศบส๖๗๑ : ระบบสุขภาพและการพัฒนา | 3 | ||
สศบส๖๗๓ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ : ทฤษฎีและทางเลือกนโยบาย | 3 | ||
สศบส๖๗๘ : การจัดทำนโยบายสาธารณสุข ดำเนินการ และการประเมินผล | 2 | ||
สศภว๖๐๒ : โภชนาการสาธารณสุข | 3 | ||
สศรบ๖๓๒ : วิธีการศึกษาทางวิทยาการระบาดและการสำรวจโรคในช่องปาก | 3 | ||
สศรบ๖๓๔ : การศึกษาพิเศษการวิจัยสุขภาพในช่องปาก | 3 | ||
สศสษ๖๓๖ : การพัฒนาสื่อในงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศอช๖๐๙ : การเตรียมพร้อมและการจัดการอุบัติภัย | 3 | ||
สศอช๖๑๗ : สุขภาพประชากรและการพัฒนาบริการอนามัยชุมชน | 3 | ||
สศอช๖๗๘ : สัมมนาปัญหาสาธารณสุขและบริการสุขภาพ | 3 | ||
สศอส๖๕๙ : เทคโนโลยีอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ | 3 | ||
สศอส๖๖๐ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ | 3 | ||
สศอส๖๗๔ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐนารี เอมยงค์ (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาทิตย์ โพธิ์ศรี
- อาจารย์ อลงกรณ์ เปกาลี
- รองศาสตราจารย์ สุคนธา คงศีล
- ศาสตราจารย์ ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
- รองศาสตราจารย์ เฟื่องฟ้า อุตรารัชต์กิจ
- รองศาสตราจารย์ สุขุม เจียมตน
- รองศาสตราจารย์ มลินี สมภพเจริญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวภณ สารข้าวคำ
- อาจารย์ ศิริพร แสนตรี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุคนธา ศิริ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัชวาล สิงหกันต์
- รองศาสตราจารย์ ศักดา อาจองค์ วัลลิภากร
- อาจารย์ สิริลักษณ์ ดุสิตสิทธิพร
- รองศาสตราจารย์ แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ
- อาจารย์ เมธิณี พิพัฒนา
- อาจารย์ วนฤทธิ์ จิตสมัย
- อาจารย์ สันต์ สุวรรณมณี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรกมล บุณยโยธิน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิราลักษณ์ นนทารักษ์
- รองศาสตราจารย์ พัชราณี ภวัตกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุมาวดี เหลาทอง
- รองศาสตราจารย์ อาภาพร เผ่าวัฒนา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนกฤต เนียมหอม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หทัยกาญจน์ ชูตระกูล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุวนุช สัตยสมบูรณ์
- อาจารย์ หทัยชนน์ อินทร์ชัย
- อาจารย์ วรางคณา เถาธรรมพิทักษ์
- อาจารย์ ธนยศ ศศิวิมลรัตนา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนาศรี สีหะบุตร
- รองศาสตราจารย์ วิริณธิ์ กิตติพิชัย
- อาจารย์ สุภาวดี พันธุมาศ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรัณญา เบญจกุล
- รองศาสตราจารย์ ศริยามน ติรพัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิธิดา พัฒนอิสรานุกูล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณิชชาภัทร ขันสาคร