เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะสาธารณสุขศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.ph.mahidol.ac.th/eng/

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(อนามัยสิ่งแวดล้อม)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

แผน ก แบบ ก๒
(๑) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สุขาภิบาล  สาธารณสุขศาสตร์  วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์การอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีการอาหาร เคมี และชีววิทยา ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง
(๒)  ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
(๓)  มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 
(๔) ผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
(๕) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากข้อ (๒) ถึงข้อ (๔) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย  

แผน ข
(๑)  เป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สุขาภิบาล  สาธารณสุขศาสตร์  วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม            อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์การอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ  เทคโนโลยีการอาหาร  เคมี  และชีววิทยา ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง
(๒)  ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
(๓)  มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 
(๔) ผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
(๕)  เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงานด้านสิ่งแวดล้อม อนามัยสิ่งแวดล้อม สาธารณสุขศาสตร์ หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า ๑ ปี
(๖) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากข้อ (๒) ถึงข้อ (๕) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งรัฐบาล เอกชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ และองค์กรระหว่างประเทศ ในขอบข่ายงานที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข การอนามัยสิ่งแวดล้อม การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม งานส่งเสริมสุขภาพ ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การจัดการควบคุมบำบัดและป้องกันมลพิษต่าง ๆ ในชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรม มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และลักษณะงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับอนามัยสิ่งแวดล้อม
- ทำงานอิสระในรูปแบบของดำเนินการธุรกิจส่วนตัวของงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สศอส๖๗๑ : หลักอนามัยสิ่งแวดล้อม 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สศอส๖๐๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยประยุกต์ทางอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๒๔ : พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๕๕ : ชีวสถิติและระบาดวิทยาสำหรับงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 3
สศอส๖๕๙ : เทคโนโลยีอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ 3
สศอส๖๗๒ : การบริหารงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๗๓ : การติดตามตรวจสอบและวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๗๔ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3
สศอส๖๙๕ : สัมมนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สศอส๕๐๓ : การฟื้นฟูทางชีวภาพ 2
สศอส๖๐๒ : ชีววิทยาอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๑๐ : การสุขาภิบาลและการจัดการน้ำสะอาดและน้ำเสีย 3
สศอส๖๑๘ : การจัดการและการควบคุมพาหะนำโรค 3
สศอส๖๒๖ : การควบคุมมลพิษทางอากาศในชุมชน 3
สศอส๖๓๐ : การควบคุมมลพิษทางอากาศจากการอุตสาหกรรม 3
สศอส๖๓๒ : การสุขาภิบาลลำนํ้าและการควบคุมมลพิษชายฝั่งทะเล 2
สศอส๖๔๐ : เทคโนโลยีการผลิตอาหารและการควบคุมทางด้านสุขาภิบาล 3
สศอส๖๔๖ : การจัดการน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 3
สศอส๖๕๖ : กฎหมายสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข 2
สศอส๖๕๘ : หัวข้อพิเศษทางอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๖๐ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ 3
สศอส๖๖๑ : ข้อกำหนดอาหารและการเฝ้าระวัง 3
สศอส๖๖๒ : ความปลอดภัยด้านอาหารและการประกันคุณภาพ 3
สศอส๖๖๓ : การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพและการจัดการ 3
สศอส๖๖๔ : การมีส่วนร่วมสาธารณะและการจัดการความขัดแย้ง 3
สศอส๖๖๖ : ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์สำหรับงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๖๙ : การนำของเสียกลับมาใช้ใหม่และการนำกลับมาใช้ประโยชน์ 2
สศอส๖๗๐ : เคมีสำหรับอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๗๕ : เทคโนโลยีและการจัดการของเสียอันตราย 3
สศอส๖๗๖ : การจัดการเหตุรำคาญ 3
สศอส๖๗๗ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 2
สศอส๖๗๙ : การศึกษานอกสถานที่ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๘๑ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานที่สาธารณะและสถานที่ท่องเที่ยว 3
สศอส๖๘๒ : การสุขาภิบาลขั้นสูงสำหรับน้ำใช้และน้ำแข็ง 3
สศอส๖๘๓ : การฟื้นฟูและติดตามตรวจสอบดินและน้ำใต้ดินอย่างยั่งยืน 2
สศอส๖๘๔ : เทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงนิเวศเพื่อความยั่งยืน 3
สศอส๖๘๕ : การประเมินอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนและการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สศอส๖๘๖ : เทคโนโลยีการกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สศอส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สศอส๖๗๑ : หลักอนามัยสิ่งแวดล้อม 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สศอส๖๐๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยประยุกต์ทางอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๒๔ : พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๕๕ : ชีวสถิติและระบาดวิทยาสำหรับงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 3
สศอส๖๕๙ : เทคโนโลยีอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ 3
สศอส๖๗๒ : การบริหารงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๗๓ : การติดตามตรวจสอบและวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๗๔ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3
สศอส๖๙๕ : สัมมนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สศอส๕๐๓ : การฟื้นฟูทางชีวภาพ 2
สศอส๖๐๒ : ชีววิทยาอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๑๐ : การสุขาภิบาลและการจัดการน้ำสะอาดและน้ำเสีย 3
สศอส๖๑๘ : การจัดการและการควบคุมพาหะนำโรค 3
สศอส๖๒๖ : การควบคุมมลพิษทางอากาศในชุมชน 3
สศอส๖๓๐ : การควบคุมมลพิษทางอากาศจากการอุตสาหกรรม 3
สศอส๖๓๒ : การสุขาภิบาลลำนํ้าและการควบคุมมลพิษชายฝั่งทะเล 2
สศอส๖๔๐ : เทคโนโลยีการผลิตอาหารและการควบคุมทางด้านสุขาภิบาล 3
สศอส๖๔๖ : การจัดการน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 3
สศอส๖๕๖ : กฎหมายสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข 2
สศอส๖๕๘ : หัวข้อพิเศษทางอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๖๐ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ 3
สศอส๖๖๑ : ข้อกำหนดอาหารและการเฝ้าระวัง 3
สศอส๖๖๒ : ความปลอดภัยด้านอาหารและการประกันคุณภาพ 3
สศอส๖๖๓ : การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพและการจัดการ 3
สศอส๖๖๔ : การมีส่วนร่วมสาธารณะและการจัดการความขัดแย้ง 3
สศอส๖๖๖ : ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์สำหรับงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๖๙ : การนำของเสียกลับมาใช้ใหม่และการนำกลับมาใช้ประโยชน์ 2
สศอส๖๗๐ : เคมีสำหรับอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๗๕ : เทคโนโลยีและการจัดการของเสียอันตราย 3
สศอส๖๗๖ : การจัดการเหตุรำคาญ 3
สศอส๖๗๗ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 2
สศอส๖๗๙ : การศึกษานอกสถานที่ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2
สศอส๖๘๑ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานที่สาธารณะและสถานที่ท่องเที่ยว 3
สศอส๖๘๒ : การสุขาภิบาลขั้นสูงสำหรับน้ำใช้และน้ำแข็ง 3
สศอส๖๘๓ : การฟื้นฟูและติดตามตรวจสอบดินและน้ำใต้ดินอย่างยั่งยืน 2
สศอส๖๘๔ : เทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงนิเวศเพื่อความยั่งยืน 3
สศอส๖๘๕ : การประเมินอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนและการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สศอส๖๘๖ : เทคโนโลยีการกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
สศอส๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6