เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   29   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ข้อมูลการดูแลสุขภาพ และสารสนเทศคลินิก (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
เว็บไซต์ https://www.rama.mahidol.ac.th/ceb/

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(วิทยาศาสตร์ข้อมูลการดูแลสุขภาพ และสารสนเทศคลินิก )

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1 (1.1):  Research Only (for Students with a Master's Degree)
(1) Graduated with a Master's degree in Data Science for Healthcare and Clinical Informatics or a closely-related discipline from an accredited national or international academic institution recognized and attested by the Higher Education Commission
(2) Grade point average not less than 3.50
(3) Have an English Proficiency Examination score meeting the requirements of the Faculty of Graduate Studies 
(4) Work or have experience as an instructor or researcher in data sciences or clinical Informatics or closely relevant fields for at least three years
(5) Have at least 3 publications in peer-reviewed international journals within the last 5 years, as the first or corresponding author
(6) Exemptions from the above conditions may be granted by the Program Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies under exceptional circumstances.

Plan 2: 2.2 Coursework and Research (for Students with a Bachelor's Degree)
(1) Graduated with a doctor of medicine/dentistry/pharmacy/nursing degree or graduated with a bachelor's degree in health sciences, information science, mathematics/statistics, engineering, management science, social science, or an IT-related discipline from an accredited national or international academic institution recognized and attested by the Higher Education Commission
(2) Grade point average not less than 3.50
(3) Have an English Proficiency Examination score meeting the requirements of the Faculty of Graduate Studies 
(4) Exemptions from the above conditions may be granted by the Program Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies under exceptional circumstances.

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Professional data scientists
2. Professional health/clinical informaticians
3. Researchers
4. Health information systems analysts

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
รมขส๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
รมขส๖๐๓ : สถิติทางการแพทย์และการเขียนโปรแกรมสำหรับวิทยาศาสตร์ข้อมูลและสารสนเทศคลินิก 2
รมขส๖๐๔ : หลักการและแนวคิดของระบบสุขภาพ 2
รมขส๖๐๕ : การเรียนรู้ของเครื่องสมัยใหม่ 2
รมขส๖๐๖ : การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรการดูแลสุขภาพ 2
รมขส๖๐๗ : ทฤษฎีสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 3
รมขส๖๐๘ : การทำเหมืองข้อมูลและการเรียนรู้ของเครื่อง 3
รมขส๖๐๙ : ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์ข้อมูลและสารสนเทศคลินิก 2
รมขส๖๑๐ : การสัมมนาทางการวิจัยวิทยาศาสตร์ข้อมูลและสารสนเทศคลินิก 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
รมขส๖๒๐ : การประมวลผลข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างชัดเจน 2
รมขส๖๒๑ : ระบบธุรกิจอัจฉริยะ 2
รมขส๖๒๒ : การประมวลผลรูปภาพทางการแพทย์ 2
รมขส๖๒๓ : การประมวลผลภาษาธรรมชาติ 2
รมขส๖๒๔ : การประมวลผลสัญญาณ 2
รมขส๖๒๕ : แบบจำลองและการจัดแสดงข้อมูล 2
รมขส๖๓๐ : ความเป็นส่วนตัวและความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศสุขภาพ 2
รมขส๖๓๑ : การจัดการการปฏิบัติการในการดูแลสุขภาพ 2
รมขส๖๓๒ : การพัฒนาและการจัดการระบบสารสนเทศ 2
รมขส๖๓๓ : นโยบายสาธารณะและกฎหมายด้านสารสนเทศสุขภาพ 2
รมขส๖๓๔ : มาตรฐานสารสนเทศสุขภาพและความสามารถในการปฏิบัติการร่วมกัน 2
รมขส๖๔๑ : นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 2
รมขส๖๔๒ : การวิเคราะห์นโยบายสุขภาพ 2
รมขส๖๔๓ : การสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิกและปัญญาประดิษฐ์ด้านการดูแลสุขภาพ 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
รมขส๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชูศักดิ์ โอกาศเจริญ   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร
  3. ศาสตราจารย์ จุมพล วิลาศรัศมี
  4. ศาสตราจารย์คลินิก อาทิตย์ อังกานนท์
  5. ศาสตราจารย์ อติพร อิงค์สาธิต
  6. ศาสตราจารย์ ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์
  7. รองศาสตราจารย์ ศศิวิมล รัตนสิริ
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรุงไทย เดชเทวพร
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปวิน นำธวัช
  10. อาจารย์ บุญชัย กิจสนาโยธิน
  11. รองศาสตราจารย์ อรลักษณ์ พัฒนาประทีป
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิชช์ เกษมทรัพย์
  13. อาจารย์ นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
  14. อาจารย์ สมชาย ชุติพงศ์ธเนศ
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัตน์ชัยนันท์ ธรรมสุจริต
  16. อาจารย์ อนุตเชษฐ์ พัฒนธีร์ปพน