เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันจันทร์ที่   9   กันยายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิก (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
เว็บไซต์ http://www.ra.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(พยาธิวิทยาคลินิก)

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรคลอบคลุมทุกสาขาวิชาทางด้านพยาธิวิทยาคลินิก เวชศาสตร์ชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ตลอดจน การบริหารห้องปฏิบัติการ และงานวิจัยในระดับสากล

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) หรือเทคนิคการแพทยศาสตรบัณฑิต แพทยศาสตรบัณฑิต 
ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการสัตวแพทย์) จากสถาบันการศึกษา
ที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาให้การรับรอง
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของ
ประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้ชำนาญการด้านพยาธิวิทยาคลินิกในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยด้านพยาธิวิทยาคลินิกในสถาบันวิชาการของภาครัฐและเอกชน

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
รมพธ๕๐๖ : การบริหารห้องปฏิบัติการและความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ 2
รมพธ๖๐๑ : สัมมนาพยาธิวิทยาคลินิก 2
รมพธ๖๐๒ : การแพทย์แม่นยำและจีโนม 2
รมพธ๖๐๓ : เครื่องมือห้องปฏิบัติการ 1
รมพธ๖๐๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางพยาธิวิทยาคลินิก 2
รมพธ๖๐๘ : เคมีคลินิก พิษวิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา และจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก 2
รมพธ๖๐๙ : จุลชีววิทยาคลินิกและโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ 2
รมพธ๖๑๐ : โลหิตวิทยาพร้อมมูล และเวชศาสตร์บริการโลหิต 2
รมพธ๖๑๑ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยาคลินิก 1
รมพธ๖๑๓ : ความสัมพันธ์ของผลทางห้องปฏิบัติการกับข้อมูลทางคลินิก 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   รายวิชาเลือกทั่วไป
รมพธ๕๓๙ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์ 2
รมพธ๖๑๒ : พยาธิวิทยาบูรณาการ 2
รมพธ๖๑๙ : ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ 2
รมพธ๖๔๓ : สารสนเทศทางยีโนม 2
   กลุ่มวิชาเคมีคลินิก
รมพธ๕๕๖ : แมสสเปกโตรเมทรีประยุกต์ทางเคมีคลินิก 1
รมพธ๕๗๓ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก 2
รมพธ๖๒๒ : การวินิจฉัยห้องปฏิบัติการทางระบบต่อมไร้ท่อ 1
รมพธ๖๔๘ : การประเมินวิธีการทดสอบทางเคมีคลินิก : แนวคิดและการปฏิบัติ 1
รมพธ๖๕๕ : การตรวจสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วย 1
   กลุ่มวิชาจุลชีววิทยาคลินิก
รมพธ๕๑๑ : กิณวิทยาการแพทย์และปรสิตวิทยา 2
รมพธ๕๑๒ : เทคนิคทางกิณวิทยาและปรสิตวิทยา 2
รมพธ๕๑๖ : การดื้อสารต้านจุลชีพ: กลไกและการตรวจสอบ 2
รมพธ๕๗๔ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาคลินิก 2
รมพธ๖๕๗ : ผู้ป่วยโรคติดเชื้อ : แนวทางปฏิบัติ 2
รมพธ๖๕๘ : เทคนิคทางจุลชีววิทยาคลินิก 2
   กลุ่มวิชาไวรัสวิทยา
รมพธ๕๖๑ : หัวข้อเฉพาะทางไวรัสวิทยา 1
รมพธ๕๗๕ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา 2
รมพธ๖๕๙ : ไวรัสวิทยาคลินิก 2
รมพธ๖๖๐ : เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางไวรัสวิทยา 1
   กลุ่มวิชาโลหิตวิทยา
รมพธ๕๗๖ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา 2
รมพธ๖๐๕ : การจัดการคุณภาพทางโลหิตวิทยาห้องปฏิบัติการ 2
รมพธ๖๔๕ : หัวข้อเฉพาะทางโลหิตวิทยา 2
รมพธ๖๖๓ : หลักการและการประยุกต์เทคนิคโฟลไซโตเมทรีทางการแพทย์ 2
   กลุ่มวิชาเวชศาสตร์การบริการโลหิต
รมพธ๕๔๔ : หัวข้อเฉพาะทางเวชศาสตร์การบริการโลหิตและพันธุศาสตร์ภูมิคุ้มกัน 2
รมพธ๕๗๗ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์การบริการโลหิต และพันธุศาสตร์ภูมิคุ้มกัน 2
   กลุ่มวิชาภูมิคุ้มกันวิทยา
รมพธ๕๗๘ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการภูมิคุ้มกันวิทยา 2
รมพธ๖๓๑ : หัวข้อเฉพาะทางภูมิคุ้มกันวิทยา 1
รมพธ๖๖๔ : การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยทางภูมิคุ้มกันวิทยา 2
   กลุ่มวิชามนุษย์พันธุศาสตร์
รมพธ๕๘๔ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการพันธุศาสตร์มนุษย์ 2
รมพธ๕๘๕ : นิติพันธุศาสตร์ 1
รมพธ๖๑๔ : พันธุศาสตร์มะเร็ง 2
รมพธ๖๙๓ : เซลล์พันธุศาสตร์ของมนุษย์ 2
   กลุ่มวิชาเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล
รมพธ๕๘๑ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 2
รมพธ๖๑๘ : หัวข้อปัจจุบันทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 2
รมพธ๖๖๕ : หลักการทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 2
รมพธ๖๖๖ : หัวข้อเฉพาะทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 2
   กลุ่มวิชาพิษวิทยา
รมพธ๕๗๙ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการพิษวิทยา 2
รมพธ๖๘๐ : เทคนิคการวินิจฉัยทางพิษวิทยา 1
รมพธ๖๘๖ : หัวข้อเฉพาะทางพิษวิทยา 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
รมพธ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ สรัญญา อุปรักขิตานนท์
  2. รองศาสตราจารย์ อัญชลี จิตธรรมมา
  3. อาจารย์ พสุพร โพธิ์เงินนาค
  4. รองศาสตราจารย์ พิมพรรณ กิจพ่อค้า
  5. รองศาสตราจารย์ พูนพิลาส หงษ์มณี
  6. รองศาสตราจารย์ พิทักษ์ สันตนิรันดร์
  7. รองศาสตราจารย์ พรเพ็ญ ศรีสวัสดิ์
  8. ศาสตราจารย์ ธีรพงษ์ กระแจะจันทร์
  9. รองศาสตราจารย์ ดวงตะวัน ธรรมาณิชานนท์
  10. รองศาสตราจารย์ ธีระพงศ์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา
  11. ศาสตราจารย์ ชลภัทร สุขเกษม
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ การันต์ ไพสุขศานติวัฒนา
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อภิชญา พวงเพ็ชร์
  14. อาจารย์ เอกวัฒน์ ผสมทรัพย์
  15. อาจารย์ จตุพร ครองวรกุล
  16. รองศาสตราจารย์ พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ
  17. รองศาสตราจารย์ สมลักษณ์ วนะวนานต์
  18. รองศาสตราจารย์ บุษบา ฤกษ์อำนวยโชค
  19. รองศาสตราจารย์ มงคล คุณากร
  20. รองศาสตราจารย์ ถกล เจริญศิริสุทธิกุล
  21. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อภิรมย์ วงศ์สกุลยานนท์