เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันเสาร์ที่   27   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิก 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
เว็บไซต์ http://www.ra.mahidol.ac.th/

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(พยาธิวิทยาคลินิก)

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรคลอบคลุมทุกสาขาวิชาทางด้านพยาธิวิทยาคลินิก เวชศาสตร์ชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ตลอดจนการบริหารห้องปฏิบัติการ และงานวิจัยในระดับสากล

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายในหลักสูตรวิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต  (พยาธิวิทยาคลินิก)  วิทยาศาสตรบัณฑิต  (เทคนิคการแพทย์)  แพทยศาสตรบัณฑิต 
ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หรือสาขาวิชาอื่นที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับพยาธิวิทยาคลินิก หรือสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐
๓. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าว อาจได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้สมัครเข้า
ศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 81            หน่วยกิต
ผู้สำเร็จปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- นักวิจัยด้านพยาธิวิทยาคลินิก
- ผู้เชี่ยวชาญในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน
- ประกอบวิชาชีพนักเทคนิคการแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือนักวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติงานใน ห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตรของสถานพยาบาลหรือสถาบันทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ต่างๆ

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาอื่น ๆ
รมพธ๖๔๙ : หลักการทางพยาธิวิทยาคลินิก ๑ 2
รมพธ๖๕๐ : หลักการทางพยาธิวิทยาคลินิก ๒ 2
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
รพพธ๖๓๒ : สัมมนาพยาธิวิทยาคลินิกขั้นสูง 2
รมพธ๖๐๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางพยาธิวิทยาคลินิก 2
รมพธ๖๐๖ : การบริหารห้องปฏิบัติการ 2
รมพธ๖๑๓ : ความสัมพันธ์ของผลทางห้องปฏิบัติการกับข้อมูลทางคลินิก 2
รมพธ๖๔๓ : สารสนเทศทางยีโนม 2
รมพธ๖๔๙ : หลักการทางพยาธิวิทยาคลินิก ๑ 2
รมพธ๖๕๐ : หลักการทางพยาธิวิทยาคลินิก ๒ 2
รมพธ๖๙๒ : วิทยาการก้าวหน้าทางพยาธิวิทยาคลินิก ๑ 2
รมพธ๖๙๔ : วิทยาการก้าวหน้าทางพยาธิวิทยาคลินิก ๒ 2
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาอื่น ๆ
รพพธ๖๓๒ : สัมมนาพยาธิวิทยาคลินิกขั้นสูง 2
รมพธ๖๐๖ : การบริหารห้องปฏิบัติการ 2
รมพธ๖๑๓ : ความสัมพันธ์ของผลทางห้องปฏิบัติการกับข้อมูลทางคลินิก 2
รมพธ๖๔๓ : สารสนเทศทางยีโนม 2
รมพธ๖๙๒ : วิทยาการก้าวหน้าทางพยาธิวิทยาคลินิก ๑ 2
รมพธ๖๙๔ : วิทยาการก้าวหน้าทางพยาธิวิทยาคลินิก ๒ 2
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิก
รพพธ๖๓๒ : สัมมนาพยาธิวิทยาคลินิกขั้นสูง 2
รมพธ๖๙๒ : วิทยาการก้าวหน้าทางพยาธิวิทยาคลินิก ๑ 2
รมพธ๖๙๔ : วิทยาการก้าวหน้าทางพยาธิวิทยาคลินิก ๒ 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   รายวิชาเลือกทั่วไป
รมพธ๖๐๓ : การใช้เครื่องมือทางห้องปฏิบัติการ 2
รมพธ๖๑๒ : พยาธิวิทยาบูรณาการ 2
รมพธ๖๓๙ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์เบื้องต้น 2
   รายวิชาเลือกเฉพาะ
รมพธ๖๐๐ : วิทยาการก้าวหน้าทางภูมิคุ้มกันวิทยา 1
รมพธ๖๑๕ : หัวข้อเฉพาะทางจุลชีววิทยา 1
รมพธ๖๑๖ : การดื้อสารต้านจุลชีพ 1
รมพธ๖๑๗ : มนุษย์พันธุศาสตร์ 2
รมพธ๖๒๒ : การวินิจฉัยห้องปฏิบัติการทางระบบต่อมไร้ท่อ 1
รมพธ๖๒๓ : พยาธิสภาพเม็ดเลือดแดงและความผิดปกติที่เกี่ยวข้อง 2
รมพธ๖๒๕ : วิทยาการก้าวหน้าของระบบการแข็งตัวของเลือด 2
รมพธ๖๓๑ : หัวข้อเฉพาะทางภูมิคุ้มกันวิทยา 1
รมพธ๖๔๒ : การตรวจการเข้ากันได้ของเนื้อเยื่อ 2
รมพธ๖๔๔ : หัวข้อเฉพาะทางเวชศาสตร์การบริการโลหิต 1
รมพธ๖๔๕ : หัวข้อเฉพาะทางโลหิตวิทยา 1
รมพธ๖๔๗ : หัวข้อเฉพาะทางเคมีคลินิก 1
รมพธ๖๔๘ : การประเมินวิธีการทดสอบทางเคมีคลินิก : แนวคิดและการปฏิบัติ 1
รมพธ๖๕๕ : การตรวจสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วย 1
รมพธ๖๕๖ : พื้นฐานแมสสเปกโตรเมทรีทางเคมีคลินิก 2
รมพธ๖๕๗ : ปฏิบัติการกรณีศึกษาโรคติดเชื้อ 1
รมพธ๖๕๘ : เทคนิคทางจุลชีววิทยาคลินิก 2
รมพธ๖๕๙ : ไวรัสวิทยาคลินิก 2
รมพธ๖๖๐ : เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางไวรัสวิทยา 1
รมพธ๖๖๑ : หัวข้อเฉพาะทางไวรัสวิทยาการแพทย์ 1
รมพธ๖๖๒ : การตรวจทางห้องปฏิบัติการในมะเร็งโลหิตวิทยา 2
รมพธ๖๖๓ : หลักการและการประยุกต์เทคนิคโฟลไซโตเมทรีทางการแพทย์ 2
รมพธ๖๖๔ : การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยทางภูมิคุ้มกันวิทยา 1
รมพธ๖๖๕ : หลักการทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 2
รมพธ๖๖๖ : หัวข้อเฉพาะทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 1
รมพธ๖๖๗ : เทคนิคการวินิจฉัยตัวบ่งชี้ทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 1
รมพธ๖๖๘ : วิทยาการก้าวหน้าทางเคมีคลินิก 1
รมพธ๖๖๙ : วิทยาการก้าวหน้าทางไวรัสวิทยา 1
รมพธ๖๗๐ : วิทยาการก้าวหน้าทางมนุษย์พันธุศาสตร์ 1
รมพธ๖๗๑ : วิทยาการก้าวหน้าทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 1
รมพธ๖๗๒ : วิทยาการก้าวหน้าทางโลหิตวิทยา 1
รมพธ๖๗๓ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก 1
รมพธ๖๗๔ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาคลินิก 1
รมพธ๖๗๕ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา 1
รมพธ๖๗๖ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา 1
รมพธ๖๗๗ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์การบริการโลหิต 1
รมพธ๖๗๘ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการภูมิคุ้มกันวิทยา 1
รมพธ๖๗๙ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการพิษวิทยา 1
รมพธ๖๘๐ : เทคนิคการวินิจฉัยทางพิษวิทยา 1
รมพธ๖๘๑ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 1
รมพธ๖๘๒ : การตรวจทางห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์การบริการโลหิต 2
รมพธ๖๘๓ : การตรวจอัตโนมัติทางเวชศาสตร์การบริการโลหิตและการตรวจเนื้อเยื่อ 1
รมพธ๖๘๔ : เทคนิคการวินิจฉัยทางมนุษย์พันธุศาสตร์ 1
รมพธ๖๘๕ : หัวข้อเฉพาะทางนิติพันธุศาสตร์ 1
รมพธ๖๘๖ : หัวข้อเฉพาะทางพิษวิทยา 1
รมพธ๖๘๗ : การวิเคราะห์และประยุกต์สารชีวโมเลกุลบ่งชี้ในทางเคมีคลินิก 1
รมพธ๖๘๙ : เวชศาสตร์การบริการโลหิตประยุกต์ 2
รมพธ๖๙๐ : ภูมิคุ้มกันพันธุศาสตร์ของหมู่โลหิต 2
รมพธ๖๙๑ : วิทยาการก้าวหน้าทางพิษวิทยา 1
รมพธ๖๙๓ : เซลล์พันธุศาสตร์ของมนุษย์ 2
รมพธ๖๙๕ : เทคนิคพื้นฐานและเทคนิคพิเศษที่ใช้ในการทดสอบทางห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา 2
รมพธ๖๙๖ : วิทยาการก้าวหน้าทางจุลชีววิทยา 1
รมพย๖๔๑ : วิทยาการก้าวหน้าทางเวชศาสตร์การบริการโลหิต 1
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
รมพธ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
รมพธ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร