ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์เชิงนวัตกรรม (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะวิทยาศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
https://physics.sc.mahidol.ac.th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ฟิสิกส์เชิงนวัตกรรม)
จุดเด่นของหลักสูตร
หลักสูตรเน้นการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถรอบด้าน มีทั้งความรู้ทางฟิสิกส์ การประยุกต์ใช้ความรู้ ที่สามารถ สร้างนวัตกรรมเชิงฟิสิกส์ ที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศที่จะมีนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ซึ่งแตกต่างจากหลักสูตรอื่น ๆ ในประเทศไทย
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี ธรณีวิทยา วัสดุศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตร์ทั่วไป หรือสำเร็จปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กำหนด
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 12 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิจัยและพัฒนาที่สร้างสรรค์นวัตกรรม ในหน่วยงานวิจัยของภาครัฐและเอกชน เช่น สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ บริษัท ปตท. จำกัด อุตสาหกรรมสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ กรมทรัพยากรธรณี กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน กรมพลังงานทดแทน สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ กรมควบคุมโรค
- นักธุรกิจสตาร์ทอัพ
- นักวิทยาศาสตร์ที่จัดการข้อมูล (Data Scientist)
- ผู้เชี่ยวชาญด้านฟิสิกส์/นวัตกรรม ในสถาบันการศึกษา
- ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างสรรค์นวัตกรรมในสถาบันการศึกษา
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วทฟน๕๐๑ : ฟิสิกส์ร่วมสมัย | 3 | ||
วทฟน๕๐๒ : บทบาทของฟิสิกส์ในนวัตกรรม | 3 | ||
วทฟน๕๐๓ : การวิจัยและสัมมนาทางฟิสิกส์เชิงนวัตกรรม | 3 | ||
วทฟน๕๐๔ : ทักษะบูรณาการสำหรับฟิสิกส์เชิงนวัตกรรม | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วทฟน๕๑๑ : วิทยาการข้อมูลขั้นพื้นฐาน | 3 | ||
วทฟน๕๑๒ : ปัญญาประดิษฐ์ | 3 | ||
วทฟน๕๑๓ : การเรียนรู้เชิงลึก | 3 | ||
วทฟน๕๑๔ : การพัฒนาแอปพลิเคชัน | 3 | ||
วทฟน๕๑๕ : อินเทอร์เน็ตของสิ่งของ | 3 | ||
วทฟน๕๑๖ : นวัตกรรมด้านฟิสิกส์ศึกษา | 3 | ||
วทฟส๕๑๖ : อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ | 3 | ||
วทฟส๕๒๕ : โฟโตนิกส์ | 3 | ||
วทฟส๕๒๖ : ทัศนศาสตร์ควอนตัม | 3 | ||
วทฟส๕๔๓ : ฟิสิกส์ของพื้นผิวและรอยต่อ | 3 | ||
วทฟส๕๘๓ : การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ วิธีการคลื่นไหวสะเทือน | 3 | ||
วทฟส๖๓๖ : อิเล็กทรอนิกส์เชิงแสง | 3 | ||
วทฟส๖๕๐ : เทคโนโลยีและการประยุกต์พลาสมา | 3 | ||
วทฟส๖๕๑ : อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ | 3 | ||
วทฟส๖๖๘ : ชีวฟิสิกส์ร่วมสมัย | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วทฟน๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน์ (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัศวิน สินทรัพย์
- อาจารย์ อเลฮานโดร ซาอีส ริเวรา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภูวิศ อมาตยกุล
- อาจารย์ สุทธิพงษ์ น้อยสกุล
- อาจารย์ เพชระ ภัทรกิจวานิช
- รองศาสตราจารย์ ชรินทร์ โหมดชัง
- รองศาสตราจารย์ กิตติวิทย์ มาแทน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุจินต์ สุวรรณะ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ขวัญ อารยะธนิตกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนากร โอสถจันทร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชภาคย์ จิตต์อารี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นฤมล เอมะรัตต์
- รองศาสตราจารย์ วรรณพงษ์ เตรียมโพธิ์
- ศาสตราจารย์ เดวิด จอห์น รูฟโฟโล
- รองศาสตราจารย์(พิเศษ) ไมเคิล แอนโทนี่ อเลน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพงษ์ อยู่มา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทวีนันท์ เชี่ยวชาญชำนาญกิจ
- รองศาสตราจารย์ อารียา จันทศรี
- รองศาสตราจารย์ วีระชัย สิริพันธ์วราภรณ์
- อาจารย์ กุลภา ไชยวงค์คต
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วฤทธิ์ มิตรธรรมศิริ