เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   23   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เคมี)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

1. Obtained B.Sc. in chemistry or related fields with a minimum GPA of 3.50 (only eligible for Plan 2.2), or
2. Obtained M.Sc. in chemistry or related fields with a minimum GPA of 3.50 (for Plan 2.1) and, for Plan 1.1, also produced research 
publication and passed a placement test organized by the program;
3. Obtained an English Proficiency Examination score as required by the Faculty of Graduate Studies;
4. A student of qualifications other than those listed above may be eligible to enroll in the program, pending approval of the program 
director and the dean of the Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑ .๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาเคมี หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาเคมี
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเคมี หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 78            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

Graduates of the program can work in the following capacity:
1. University professors;
2. Advanced research and development in commercial sector and in academia;
3. Business entrepreneurs; 
4. Research scientists and advanced specialists in the government sector;
5. Scientific communicators.

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคม๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคม๗๐๑ : เคมีแนวหน้า 3
วทคม๗๐๒ : ความปลอดภัยทางเคมีและการจัดการความเสี่ยง 1
วทคม๗๐๓ : การสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ 1
วทคม๗๐๔ : สัมมนาทางเคมี 1
วทคม๗๐๕ : ความก้าวหน้าทางเคมี 3
วทคม๗๐๖ : การพัฒนาทักษะการวิจัย ๑ 3
วทคม๗๐๘ : ปัญหาพิเศษทางเคมี 3
   In addition, with a consent of an academic advisor and a course coordinator, students must take two (6 credits) of the following courses
วทคม๗๑๑ : การหาโครงสร้างของสารอินทรีย์ 3
วทคม๗๑๒ : โครงสร้างและหน้าที่ระดับโมเลกุล 3
วทคม๗๓๑ : เทคนิคทางเคมีวิเคราะห์ขั้นสูง 3
วทคม๗๓๒ : ปฏิบัติการห้องทดลองการวิเคราะห์โดยอุปกรณ์ 3
วทคม๗๖๓ : โครงสร้างอนินทรีย์และพันธะเคมี 3
วทคม๗๖๔ : เทคนิคการพิสูจน์อัตลักษณ์ในเคมีอนินทรีย์ 3
วทคม๗๗๘ : เทคนิคทางเคมีเชิงฟิสิกส์ 3
วทคม๘๐๑ : วัสดุเชิงสิ่งแวดล้อม 3
วทคม๘๐๒ : เคมีเชิงลิกโนเซลลูโลส 3
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาเคมี
วทคม๗๐๗ : การพัฒนาทักษะการวิจัย ๒ 3
วทคม๗๐๘ : ปัญหาพิเศษทางเคมี 3
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
วทคม๗๐๑ : เคมีแนวหน้า 3
วทคม๗๐๖ : การพัฒนาทักษะการวิจัย ๑ 3
วทคม๗๐๘ : ปัญหาพิเศษทางเคมี 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทคม๗๑๓ : เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ขั้นสูง 3
วทคม๗๑๔ : กลไกปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ขั้นสูง 3
วทคม๗๑๕ : เคมีทางยาแนวหน้า 3
วทคม๗๑๖ : เคมีชีววิทยา 3
วทคม๗๑๗ : เคมีของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติขั้นสูง 3
วทคม๗๑๘ : การสังเคราะห์แบบอสมมาตร 3
วทคม๗๑๙ : เคมีของสารเฮเทอโรไซคลิกขั้นสูง 3
วทคม๗๒๐ : หัวข้อที่เป็นปัจจุบันทางเคมีอินทรีย์ 3
วทคม๗๓๓ : เทคนิคการแยก 3
วทคม๗๓๔ : เทคโนโลยีของไหลสำหรับศาสตร์วิเคราะห์ 3
วทคม๗๓๕ : เคโมเมตริกส์ 3
วทคม๗๓๖ : เคมีของสารละลาย 3
วทคม๗๓๗ : เคมีสิ่งแวดล้อม 3
วทคม๗๓๘ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางเคมีวิเคราะห์ 3
วทคม๗๓๙ : หัวข้อที่เป็นปัจจุบันทางเคมีวิเคราะห์ ๑ 3
วทคม๗๔๐ : หัวข้อที่เป็นปัจจุบันทางเคมีวิเคราะห์ ๒ 3
วทคม๗๕๔ : เคมีของโลหะแทรนซิชันอินทรีย์ 3
วทคม๗๕๗ : เคมีของสถานะของแข็ง 3
วทคม๗๖๕ : เคมีของธาตุหมู่หลัก 3
วทคม๗๖๖ : กลไกปฏิกิริยาอนินทรีย์ 3
วทคม๗๖๗ : เอ็นเอ็มอาร์ สเปกโตรสโกปีสำหรับเคมีอนินทรีย์ 3
วทคม๗๖๘ : หัวข้อพิเศษทางเคมีอนินทรีย์ 3
วทคม๗๖๙ : เคมีชีวอนินทรีย์: จากโลหะในชีววิทยาสู่การประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน 3
วทคม๗๗๑ : เคมีควอนตัม 3
วทคม๗๗๒ : อุณหพลศาสตร์และกลศาสตร์เชิงสถิติ 3
วทคม๗๗๔ : จลนพลศาสตร์เคมีและพลศาสตร์โมเลกุล 3
วทคม๗๗๕ : ฟิสิกส์เชิงเคมีแผนใหม่ 3
วทคม๗๗๖ : วิธีทางคณิตศาสตร์ 3
วทคม๗๗๙ : เคมีพื้นผิวและเคมีไฟฟ้าขั้นสูง 3
วทคม๗๘๐ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางเคมีเชิงฟิสิกส์ 3
วทคม๗๘๑ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางฟิสิกส์เชิงเคมี 3
วทคม๗๘๒ : สัมมนาทางเคมีเชิงฟิสิกส์และฟิสิกส์เชิงเคมี ๑ 1
วทคม๗๘๓ : สัมมนาในวิชาเคมีเชิงฟิสิกส์และฟิสิกส์เชิงเคมี ๒ 1
วทคม๗๘๔ : สัมมนาในวิชาเคมีเชิงฟิสิกส์และฟิสิกส์เชิงเคมี ๓ 1
วทคม๗๘๕ : เคมีเชิงฟิสิกส์ขั้นสูง 3
วทคม๘๐๓ : เคมีของกากของเสียและมลพิษ 3
วทคม๘๐๔ : หลักการความยั่งยืน 3
วทคม๘๐๕ : เส้นใยธรรมชาติ 3
วทคม๘๐๖ : เคมีเชิงอุตสาหกรรม 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคม๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคม๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ธันฐภัทร์ บุญช่วย
  2. รองศาสตราจารย์ อทิตยา ศิริภิญญานนท์
  3. ศาสตราจารย์ ชุติมา คูหากาญจน์
  4. รองศาสตราจารย์ ดวงใจ นาคะปรีชา
  5. รองศาสตราจารย์ เอกสิทธิ์ สมสุข
  6. รองศาสตราจารย์ อรอุมา เขียวหวาน
  7. รองศาสตราจารย์ พลังพล คงเสรี
  8. รองศาสตราจารย์ ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย
  9. ศาสตราจารย์ วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร
  10. รองศาสตราจารย์ ดรุณี สู้รักรัมย์
  11. รองศาสตราจารย์ จงกล ตันติรุ่งโรจน์ชัย
  12. รองศาสตราจารย์ กาญจนา อุไรสินธว์
  13. รองศาสตราจารย์ ศิริลตา ยศแผ่น
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โศรยา พรสุวรรณ
  15. รองศาสตราจารย์ สุภาวดี เกียรติเสวี
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพพร เรืองสุภาภิชาติ
  17. รองศาสตราจารย์ ปรียานุช แสงไตรรัตน์นุกูล
  18. รองศาสตราจารย์ ศิวพร มีจู สมิธ
  19. รองศาสตราจารย์ เทียนทอง ทองพันชั่ง
  20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุติมา เจียรพินิจนันท์
  21. รองศาสตราจารย์ พนิดา สุรวัฒนาวงศ์
  22. รองศาสตราจารย์ พสิษฐ์ ภควัชร์ภาณุรัตน์
  23. รองศาสตราจารย์ รัตติกาล จันทิวาสน์
  24. อาจารย์ ทินกร เตียนสิงห์
  25. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ต่อศักดิ์ ล้วนไพศาลนนท์
  26. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปวเรศร์ เหลียววนวัฒน์
  27. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พูนทวี แซ่เตีย
  28. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธีรา ฉันทโรจน์ศิริ