เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   19   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(คณิตศาสตร์)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1 : Research only
Plan 1.1 : For student with Master's Degree
(1) Applicants must hold, a Master's degree in any area with a bachelor degree in Mathematics or related areas which includes at least forty-five (45) credits of mathematics courses from a college or university accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation.
(2) Applicants must earn a GPA of at least 3.50.
(3) Applicants must have research experiences and have at least one publication in peer-reviewed journal as a first author or a corresponding author.
 (4) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
(5) Applicants whose credentials differ from (2) and (4) could apply to the program if the permission is granted by the Program Administrative Committee and the Dean of Faculty of Graduate Studies in concurrence with the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.

Plan 2 : Course work and Research      
Plan 2.1 : For student with Master's Degree                     
(1) Applicants must hold, a Master's degree in any area with a bachelor degree in Mathematics or related areas which includes at least forty-five (45) credits of mathematics courses from a college or university accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation.
(2)  Applicants must earn a GPA of at least 3.50.
(3) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
(4) Applicants whose credentials differ from (2) and (3) could apply to the program if the permission is granted by the Program Administrative Committee and the Dean of Faculty of Graduate Studies in concurrence with the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.

Plan 2.2 For student with Bachelor's Degree
(1) Applicants must hold, bachelor degree in Mathematics or related areas which includes at least forty-five (45) credits of mathematics courses from a college or university accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation.
(2) Applicants must earn a GPA of at least 3.50.
(3) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
(4) Applicants whose credentials differ from (2) and (3) could apply to the program if the permission is granted by the Program Administrative and the Dean of Faculty of Graduate Studies in concurrence with the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

Career opportunities of the graduates include 
1. Mathematics experts 
2. Researchers in mathematical or statistical analysis
3. Researchers and developers in organizations involved research and development units

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคณ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคณ๖๐๓ : ทฤษฎีของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3
วทคณ๖๑๕ : พีชคณิต 3
วทคณ๖๑๖ : การวิเคราะห์ประยุกต์ 3
วทคณ๖๕๐ : การวิเคราะห์ขั้นสูง 3
วทคณ๖๙๑ : ทักษะทั่วไปเพื่อการวิจัยทางคณิตศาสตร์ 1
วทคณ๗๑๐ : สัมมนาคณิตศาสตร์ 1
วทคณ๗๑๑ : ระเบียบวิจัยทางคณิตศาสตร์ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคณ๖๑๕ : พีชคณิต 3
วทคณ๖๕๐ : การวิเคราะห์ขั้นสูง 3
วทคณ๖๙๑ : ทักษะทั่วไปเพื่อการวิจัยทางคณิตศาสตร์ 1
วทคณ๗๑๐ : สัมมนาคณิตศาสตร์ 1
วทคณ๗๑๑ : ระเบียบวิจัยทางคณิตศาสตร์ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคณ๖๐๖ : ทอพอโลยี 3
วทคณ๖๐๗ : การวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน 3
วทคณ๖๑๐ : การวิเคราะห์เชิงจริง 3
วทคณ๖๒๐ : การวิเคราะห์เชิงซ้อน 3
วทคณ๖๒๑ : ตัวแบบเชิงกำหนดทางการวิจัยการดำเนินการ 3
วทคณ๖๒๒ : ตัวแบบเชิงความน่าจะเป็นทางการวิจัยการดำเนินการ 3
วทคณ๖๒๓ : เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุด 3
วทคณ๖๒๕ : สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย 3
วทคณ๖๓๑ : การวิเคราะห์การตัดสินใจ 3
วทคณ๖๓๓ : กระบวนการสโทแคสติก 3
วทคณ๖๔๐ : ทฤษฎีความน่าจะเป็น 3
วทคณ๖๔๓ : การวิเคราะห์อนุกรมเวลา 3
วทคณ๖๔๕ : ตัวแบบเชิงเส้นนัยทั่วไป 3
วทคณ๖๕๔ : การวิเคราะห์เชิงตัวเลข 3
วทคณ๖๕๖ : ทฤษฎีเกม 3
วทคณ๖๕๗ : การประยุกต์ทฤษฎีกราฟ 3
วทคณ๖๖๓ : แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์ในกระบวนการอุตสาหกรรม 3
วทคณ๖๗๐ : สมการเชิงอนุพันธ์ขั้นสูง 3
วทคณ๖๗๓ : ระบบเชิงพลวัต 3
วทคณ๖๗๔ : แบบจําลองเชิงคณิตศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต 3
วทคณ๖๗๗ : การทําเหมืองข้อมูล 3
วทคณ๖๘๘ : การอนุมานเชิงสถิติ 3
วทคณ๗๐๑ : วิธีเชิงตัวเลขขั้นสูง 3
วทคณ๗๐๒ : อุตุนิยมวิทยาเชิงพลวัต 3
วทคณ๗๒๑ : วิธีเชิงคณิตศาสตร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ 3
วทคณ๗๒๒ : หัวข้อปัจจุบันทางคณิตศาสตร์ 3
วทคณ๗๒๓ : หัวข้อปัจจุบันทางคณิตศาสตร์การคณนา 3
วทคณ๗๒๗ : ทักษะในวิทยาการข้อมูล 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคณ๖๐๖ : ทอพอโลยี 3
วทคณ๖๐๗ : การวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน 3
วทคณ๖๑๐ : การวิเคราะห์เชิงจริง 3
วทคณ๖๒๐ : การวิเคราะห์เชิงซ้อน 3
วทคณ๖๒๑ : ตัวแบบเชิงกำหนดทางการวิจัยการดำเนินการ 3
วทคณ๖๒๒ : ตัวแบบเชิงความน่าจะเป็นทางการวิจัยการดำเนินการ 3
วทคณ๖๒๓ : เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุด 3
วทคณ๖๒๕ : สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย 3
วทคณ๖๓๑ : การวิเคราะห์การตัดสินใจ 3
วทคณ๖๓๓ : กระบวนการสโทแคสติก 3
วทคณ๖๔๐ : ทฤษฎีความน่าจะเป็น 3
วทคณ๖๔๓ : การวิเคราะห์อนุกรมเวลา 3
วทคณ๖๔๕ : ตัวแบบเชิงเส้นนัยทั่วไป 3
วทคณ๖๕๔ : การวิเคราะห์เชิงตัวเลข 3
วทคณ๖๕๖ : ทฤษฎีเกม 3
วทคณ๖๗๐ : สมการเชิงอนุพันธ์ขั้นสูง 3
วทคณ๖๗๓ : ระบบเชิงพลวัต 3
วทคณ๖๗๔ : แบบจําลองเชิงคณิตศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต 3
วทคณ๖๗๗ : การทําเหมืองข้อมูล 3
วทคณ๖๘๘ : การอนุมานเชิงสถิติ 3
วทคณ๗๐๑ : วิธีเชิงตัวเลขขั้นสูง 3
วทคณ๗๐๒ : อุตุนิยมวิทยาเชิงพลวัต 3
วทคณ๗๒๑ : วิธีเชิงคณิตศาสตร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ 3
วทคณ๗๒๒ : หัวข้อปัจจุบันทางคณิตศาสตร์ 3
วทคณ๗๒๓ : หัวข้อปัจจุบันทางคณิตศาสตร์การคณนา 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคณ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคณ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดวงกมล เบ้าวัน   (ประธานหลักสูตร)
  2. รองศาสตราจารย์ ชนม์ทิตา รัตนกุล
  3. รองศาสตราจารย์ ณัฐพงษ์ โบสุวรรณ
  4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฟาริดา จำจด
  5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติศักดิ์ ชยันตราคม
  6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐกรณ์ ผิวชื่น
  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรรณนภา ช่างเพ็ชร
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมศักดิ์ โอฬารกิจเจริญ
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุนทรี อุณหพิพัฒน์
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพาลัคน์ กฤตยาเกียรณ์
  11. รองศาสตราจารย์ วรรณนิกา แสวงทอง
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรรธนันทน์ จตุวิริยะพรชัย
  13. อาจารย์ Man Van Minh Nguyen
  14. อาจารย์ ณัฐนรงค์ ขจรศักดิ์สุเมธ
  15. อาจารย์ ระวี สุวรรณเดโชไชย
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วสกร แลสันกลาง
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมคิด อมรสมานกุล
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัญญพงศ์ เพชรร่มโพธิ์
  19. อาจารย์ ดีมิที เบอร์ดินสกี