เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพุธที่   24   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ชีววิทยา)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแล้ว ดุษฎีบัณฑิตจะมีความรู้ ความสามารถ ดังนี้
๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาชีววิทยา สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ  หรือสาขาที่
เกี่ยวข้อง  โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ 
๒. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโท  สาขาวิชาชีววิทยา  สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ  หรือสาขาที่
เกี่ยวข้อง โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ 
๓. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าว อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก
เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร  และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

๑) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 14            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 10            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
๒) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- นักวิจัยด้านชีววิทยาประจำสถาบันวิจัยในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- นักวิชาการทางด้านชีววิทยาประจำสถาบันวิจัยในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- นักบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
- เจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๕ : นิเวศวิทยาเชิงระบบและอุบัติการโรค 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทชว๕๘๒ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางชีววิทยา 2
วทชว632 : สัมมนาการวิจัยทางชีววิทยา ๒ 1
วทชว๖๒๖ : การสอนปฏิบัติการชีววิทยา 1
วทชว๖๓๑ : สัมมนาการวิจัยทางชีววิทยา ๑ 1
วทชว๖๓๓ : สัมมนาการวิจัยทางชีววิทยา ๓ 1
วทชว๖๓๔ : สัมมนาการวิจัยทางชีววิทยา ๔ 1
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๕ : นิเวศวิทยาเชิงระบบและอุบัติการโรค 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทชว๖๒๖ : การสอนปฏิบัติการชีววิทยา 1
วทชว๖๓๓ : สัมมนาการวิจัยทางชีววิทยา ๓ 1
วทชว๖๓๔ : สัมมนาการวิจัยทางชีววิทยา ๔ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทชว๕๐๑ : กีฏวิทยาระดับโมเลกุล 3
วทชว๕๐๒ : กีฏวิทยาทางการแพทย์ 3
วทชว๕๐๔ : ศังขวิทยาขั้นแนะนำ 3
วทชว๕๐๖ : อนุกรมวิธานของแมลง 3
วทชว๕๐๘ : เซลล์และชีววิทยาการเจริญ 3
วทชว๕๐๙ : ชีววิทยาของแมลง 3
วทชว๕๑๔ : การศึกษาศังขวิทยาภาคสนาม 2
วทชว๕๑๖ : กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบของสัตว์พวกหอย 3
วทชว๕๓๐ : ชีววิทยาเชิงอนุรักษ์ 3
วทชว๕๓๒ : หลักชีววิทยาเชิงสังคม 3
วทชว๕๓๙ : เทคนิคการวิจัยทางนิเวศวิทยาและการอนุรักษ์ 2
วทชว๕๔๐ : นิเวศวิทยาเชิงพฤติกรรม 3
วทชว๕๔๕ : เซลล์พันธุศาสตร์ 3
วทชว๕๔๖ : พันธุศาสตร์เชิงประชากรและเชิงนิเวศ 3
วทชว๕๗๒ : ปรสิตวิทยาระดับโมเลกุล 3
วทชว๕๗๔ : วิทยาภูมิคุ้มกันทางปรสิตวิทยา 3
วทชว๕๗๘ : เทคนิคการเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อ 3
วทชว๕๗๙ : เทคนิคการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 2
วทชว๕๘๑ : ปัญหาพิเศษทางชีววิทยา 2
วทชว๖๐๗ : พันธุศาสตร์เชิงวิวัฒนาการ 3
วทชว๖๐๙ : พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทชว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
วทชว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48

อาจารย์ประจำหลักสูตร