เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   18   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพิษวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(พิษวิทยา)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี  แพทยศาสตรบัณฑิต  ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต  สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิตหรือเทียบเท่า  จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรองโดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ
๒. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโทหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรองโดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ 
๓. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น  อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร  และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
แบบ ๒
หมวดวิชาบังคับ 19            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโทจากสาขาอื่น
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโทจากสาขาวิชาพิษวิทยา
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 5            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทพษ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทพษ๖๐๓ : วิธีทดลองทางพิษวิทยา 1
วทพษ๖๐๔ : พิษวิทยาระดับโมเลกุลและระดับพันธุกรรม 2
วทพษ๖๒๘ : พิษวิทยาพื้นฐาน 3
วทพษ๖๒๙ : พิษวิทยาเชิงระบบ 3
วทพษ๖๒๙ : พิษวิทยาเชิงระบบ 2
วทพษ๖๙๑ : สัมมนาทางพิษวิทยา ๑ 1
วทพษ๖๙๒ : สัมมนาทางพิษวิทยา ๒ 1
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทพษ๖๐๔ : พิษวิทยาระดับโมเลกุลและระดับพันธุกรรม 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๕ : นิเวศวิทยาเชิงระบบและอุบัติการโรค 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทพษ๖๓๓ : พิษวิทยาคลินิก 2
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๕ : นิเวศวิทยาเชิงระบบและอุบัติการโรค 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทพษ๖๓๓ : พิษวิทยาคลินิก 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทพษ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทพษ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร