เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพุธที่   24   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เทคโนโลยีชีวภาพ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี  สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องโดย
ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕
๒. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโท  สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องโดย
ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕
๓. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก
เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ 2
(๑) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 17            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 77            หน่วยกิต
(๒) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้เชี่ยวชาญทางเทคโนโลยีชีวภาพในสถาบันการศึกษา
- นักวิชาการ นักวิจัยสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ในสถาบันวิชาการของภาครัฐ บริษัทเอกชน และองค์กร
- นักพัฒนาผลิตภัณฑ์
- ผู้ประกอบการทางอุตสาหกรรมและโรงงาน ๕ งานวิชาชีพอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท
วททช๕๙๔ : หัวข้อด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๑ 1
วททช๕๙๕ : หัวข้อด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๒ 1
วททช๕๙๖ : หัวข้อด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๓ 1
วททช๖๑๖ : เทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรมขั้นสูง ๒ 3
วททช๖๙๔ : สัมมนาด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๑ 1
วททช๖๙๕ : สัมมนาด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๒ 1
วททช๖๙๖ : สัมมนาด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๓ 1
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วททช๕๙๔ : หัวข้อด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๑ 1
วททช๕๙๕ : หัวข้อด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๒ 1
วททช๕๙๖ : หัวข้อด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๓ 1
วททช๖๐๕ : เทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพ 3
วททช๖๑๖ : เทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรมขั้นสูง ๒ 3
วททช๖๙๔ : สัมมนาด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๑ 1
วททช๖๙๕ : สัมมนาด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๒ 1
วททช๖๙๖ : สัมมนาด้านเทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูง ๓ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วททช๕๐๒ : เทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม 3
วททช๕๑๑ : เทคโนโลยีการหมัก 3
วททช๕๑๒ : กระบวนการแยกและสกัดสารที่ผลิตโดยเทคโนโลยีชีวภาพ 3
วททช๕๑๔ : วิศวกรรมกระบวนการชีวภาพเพื่อทรัพยากรชีวภาพหมุนเวียน 3
วททช๕๓๑ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 3
วททช๖๐๑ : ชีวเคมีและชีวโมเลกุลของพืช 3
วททช๖๐๒ : การควบคุมการแสดงออกของยีน 3
วททช๖๐๔ : เทคโนโลยีเซลล์สัตว์ขั้นสูง 3
วททช๖๐๘ : หัวข้อทันสมัยของเทคโนโลยีชีวภาพ 3
วททช๖๐๙ : ชีววิทยาและพยาธิชีววิทยาของกุ้ง 3
วททช๖๑๐ : เทคโนโลยีชีวภาพเชิงธุรกิจ 2
วททช๖๑๑ : วิศวกรรมกระบวนการชีวภาพขั้นสูง 3
วททช๖๓๑ : เทคโนโลยีการอาหารขั้นสูง 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท
วททช๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
วททช๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48

อาจารย์ประจำหลักสูตร