ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะวิทยาศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sc.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สรีรวิทยา)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือในสาขาวิชาอื่นที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาของภาค วิชาฯ เห็นสมควร และสาขาวิชานั้นได้รับการรับรองจากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษารับรอง ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ หรือ ร้อยละ ๗๕ ๓. มีผลสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า ศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชาบังคับ | 14 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 10 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสรีรวิทยา ในสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
- นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย นักวิชาการด้านสรีรวิทยาในหน่วยงาน สถาบัน ทั้งภาครัฐและเอกชน
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ | 3 | ||
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทสร๖๐๖ : สัมมนาสรีรวิทยา ๑ | 1 | ||
วทสร๖๐๗ : สัมมนาสรีรวิทยา ๒ | 1 | ||
วทสร๖๓๐ : การวิเคราะห์บทความทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทสร๖๓๙ : วิธีปฏิบัติการทางสรีรวิทยา | 1 | ||
วทสร๖๘๐ : สรีรวิทยาเชิงระบบ ๑ | 3 | ||
วทสร๖๘๑ : สรีรวิทยาเชิงระบบ ๒ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล | 2 | ||
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ | 1 | ||
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี | 1 | ||
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร | 1 | ||
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน | 1 | ||
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน | 1 | ||
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน | 1 | ||
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ | 1 | ||
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ | 1 | ||
วทสร๖๘๒ : ทักษะการสื่อสารอย่างมืออาชีพ | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วทสร๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ สุวิมล ตั้งตรงทรัพย์
- ศาสตราจารย์ วิฑูร แสงศิริสุวรรณ
- ศาสตราจารย์ จงกลณี วัฒนาเพิ่มพูล
- รองศาสตราจารย์ สัณหภาส สุดวิลัย
- รองศาสตราจารย์ อาทิตย์ ไชยร้องเดื่อ
- รองศาสตราจารย์ เทพมนัส บุปผาอินทร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ioannis D. Papadimitriou
- ศาสตราจารย์ ฉัตรชัย เหมือนประสาท
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิชชุดา แสงสว่าง
- รองศาสตราจารย์ จิตติมา วีระชยาภรณ์
- อาจารย์ รัชนีวรรณ เอี่ยมลาภะ
- รองศาสตราจารย์ รัชกฤต ศรีเกื้อ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิตยา บุญหมื่น
- ศาสตราจารย์ นรัตถพล เจริญพันธุ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณิต ภู่ไข่
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐพล ภาณุพินธุ