เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันเสาร์ที่   20   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(สรีรวิทยา)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 2.1 For students with Master's Degreee
2.1.1 Holding a Master's degree in Biomedical Science, Pharmacy, Physical Therapy, Veterinary Medicine or the equivalent degree provided by the institutions accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation; with research experience
2.1.2 Having a cumulative GPA of not less than 3.50
2.1.3 Attain minimum requirement for English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies 
2.1.4 Applicants who do not meet the requirements indicated in 2.1.2 - 2.1.3 may be considered by the Program committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies. 

Plan 2.2  For student with Bachelor's Degree 
2.2.1 Holding a Bachelor's degree in Biomedical Science, Medicine, Medical Technology, Nursing, Nutrition, Biology, Pharmacy, Physical Therapy, Sports Science, Veterinary Medicine, and Science-related degrees provided by the institutions which are accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation;
2.2.2 Having a cumulative GPA of not less than 3.50;
2.2.3 Attain minimum requirement for English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies 
2.2.4 Applicants who do not meet the requirements indicated in 2.2.2 - 2.2.3 may be considered by the Program committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Specialist in Physiology and related discipline
2. Further training as Postdoctoral fellows in Physiology and related discipline
3. Researcher in physiology and related fields in academic/drug/food industrial institutes
4. Project leader in research institutes
5. Research specialist or consultant in drug, food, or medical device companies

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทสร๖๐๖ : สัมมนาสรีรวิทยา ๑ 1
วทสร๖๐๗ : สัมมนาสรีรวิทยา ๒ 1
วทสร๖๐๘ : สัมมนาสรีรวิทยา ๓ 1
วทสร๖๐๙ : การวิเคราะห์และการเขียนบทความทางวิทยาศาสตร์ 1
วทสร๖๗๙ : หัวข้อทางสรีรวิทยาขั้นสูง 3
วทสร๖๘๐ : สรีรวิทยาเชิงระบบ ๑ 3
วทสร๖๘๑ : สรีรวิทยาเชิงระบบ ๒ 3
วทสร๖๙๑ : ชีวสถิติสำหรับสรีรวิทยาและการวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2
วทสร๖๙๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย การจัดการ การสื่อสารและการหาทุนวิจัย 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทสร๖๐๘ : สัมมนาสรีรวิทยา ๓ 1
วทสร๖๗๙ : หัวข้อทางสรีรวิทยาขั้นสูง 3
วทสร๖๙๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย การจัดการ การสื่อสารและการหาทุนวิจัย 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทสร๖๖๘ : การตอบสนองทางเมแทบอลิซึมต่อการออกกำลังกายและความเครียดจากสภาวะแวดล้อม 2
วทสร๖๖๘ : การตอบสนองทางเมแทบอลิซึมต่อการออกกำลังกายและความเครียดจากสภาวะแวดล้อม 1
วทสร๖๗๖ : สรีรวิทยาของการชราภาพ 2
วทสร๖๘๗ : การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพในสถานที่ออกกำลังกาย 2
วทสร๖๙๒ : นวัตกรรมชีวการแพทย์พื้นฐาน 1
วทสร๖๙๓ : ผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยี 1
วทสร๖๙๔ : การพัฒนายาและโภชนเภสัชภัณฑ์ 2
วทสร๘๐๑ : ความเสี่ยงด้านสุขภาพและการจัดการการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทสร๖๖๘ : การตอบสนองทางเมแทบอลิซึมต่อการออกกำลังกายและความเครียดจากสภาวะแวดล้อม 2
วทสร๖๖๘ : การตอบสนองทางเมแทบอลิซึมต่อการออกกำลังกายและความเครียดจากสภาวะแวดล้อม 1
วทสร๖๗๖ : สรีรวิทยาของการชราภาพ 2
วทสร๖๘๗ : การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพในสถานที่ออกกำลังกาย 2
วทสร๘๐๑ : ความเสี่ยงด้านสุขภาพและการจัดการการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทสร๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทสร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ศาสตราจารย์ นรัตถพล เจริญพันธุ์   (รักษาการแทนประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ จงกลณี วัฒนาเพิ่มพูล
  3. รองศาสตราจารย์ อาทิตย์ ไชยร้องเดื่อ
  4. รองศาสตราจารย์ จิตติมา วีระชยาภรณ์
  5. รองศาสตราจารย์ รัชกฤต ศรีเกื้อ
  6. รองศาสตราจารย์ สัณหภาส สุดวิลัย
  7. รองศาสตราจารย์ เทพมนัส บุปผาอินทร์
  8. ศาสตราจารย์ วิฑูร แสงศิริสุวรรณ
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐพล ภาณุพินธุ
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณิต ภู่ไข่
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ioannis D. Papadimitriou
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิตยา บุญหมื่น
  13. อาจารย์ รัชนีวรรณ เอี่ยมลาภะ
  14. อาจารย์ ไท ชัยอมฤต
  15. อาจารย์ เบญจมินทร์ อ่องนก
  16. อาจารย์ เมธนียา ปิลันธนานนท์