ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | คณะวิทยาศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sc.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ เคมี เคมีอุตสาหกรรม ฟิสิกส์ วัสดุศาสตร์ หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง โดยมีแต้มเฉลี่ยสะสมในระดับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง หรือระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ ๒. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เคมี ฟิสิกส์ วัสดุศาสตร์ จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง โดยมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ ๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๔. ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวอาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แบบ ๒ | |||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 20 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 74 | หน่วยกิต | |
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์
- นักวิจัยและพัฒนาในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- นักวิเคราะห์ ควบคุมคุณภาพ และกระบวนการผลิตในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- ประกอบอาชีพอิสระที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่ศึกษา
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทคม๕๒๓ : เคมีพอลิเมอร์ | 3 | ||
วทคม๕๒๔ : การตรวจลักษณะพอลิเมอร์ | 2 | ||
วทคม๕๔๓ : ฟิสิกส์พอลิเมอร์ | 3 | ||
วทคม๕๖๕ : เทคนิคทางวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ | 2 | ||
วทคม๕๘๘ : สัมมนาพอลิเมอร์ ๑ | 2 | ||
วทคม๕๙๖ : วิทยากระแสและกระบวนการแปรรูปพอลิเมอร์ | 2 | ||
วทคม๖๓๒ : เคมีพอลิเมอร์ขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๖๓๘ : แนวโน้มของอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ | 1 | ||
วทคม๖๘๐ : สัมมนาพอลิเมอร์ ๒ | 2 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทคม๖๓๒ : เคมีพอลิเมอร์ขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๖๓๘ : แนวโน้มของอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ | 1 | ||
วทคม๖๘๐ : สัมมนาพอลิเมอร์ ๒ | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทคม๕๒๖ : การดัดแปรพอลิเมอร์ | 2 | ||
วทคม๕๒๗ : พอลิเมอร์คอลลอยด์ | 2 | ||
วทคม๕๕๐ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียาง | 2 | ||
วทคม๕๙๗ : กระบวนการแปรรูปพอลิเมอร์ขั้นสูง | 2 | ||
วทคม๕๙๘ : วัสดุนาโน | 2 | ||
วทคม๖๓๕ : พอลิเมอร์ผสมและคอมพอสิท | 2 | ||
วทคม๖๓๗ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีน้ำยางธรรมชาติ | 2 | ||
วทคม๖๓๙ : พอลิเมอร์ชีวภาพ | 2 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทคม๖๓๓ : ฟิสิกส์พอลิเมอร์ขั้นสูง | 2 | ||
วทคม๖๓๔ : ผิวพอลิเมอร์ | 2 | ||
วทคม๖๓๖ : ทักษะจำเป็นสำหรับการวิจัยและการทำงาน | 2 | ||
วทคม๖๖๘ : ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทคม๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทคม๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ สุภา วิรเศรษฐ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดาราภรณ์ เตรียมโพธิ์
- ศาสตราจารย์ ปราณี ภิญโญชีพ
- รองศาสตราจารย์ อัญรัตน์ วัฒนพานิช
- อาจารย์ รัตนา ฉันทเตยานนท์
- รองศาสตราจารย์ ธรรมสิทธิ์ วงศ์เศรษฐสกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรียานุช จันคง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธัญชนก รัตน์วิจิตต์เวช
- ศาสตราจารย์ กัลยาณี สิริสิงห
- รองศาสตราจารย์ สมบัติ ธนะวันต์
- ศาสตราจารย์ ชาคริต สิริสิงห
- รองศาสตราจารย์ ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย
- ศาสตราจารย์ จิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์
- ศาสตราจารย์ พิศิษฐ์ ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์
- รองศาสตราจารย์ พันธ์ญา สุนินทบูรณ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชญาณิศา ชิติโชติปัญญา