ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะวิทยาศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sc.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(เภสัชวิทยา)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตร์สาขาวิชาเคมี ชีวเคมี ชีววิทยาเทคโนโลยีชีวภาพ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาให้การรับรอง ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า ศึกษาตามดุลยพินิจของประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- วิทยากรหรือผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านเภสัชวิทยา
- นักวิจัยด้านเภสัชวิทยาในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
- นักวิชาการด้านเภสัชวิทยาในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วทภส๕๐๑ : วิธีการทดลองปฏิบัติการทางเภสัชวิทยา | 1 | ||
วทภส๕๐๒ : หลักการออกฤทธิ์ของยา | 2 | ||
วทภส๕๑๑ : วิทยาการทางเภสัชวิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 2 | ||
วทภส๕๑๒ : พื้นฐานชีววิทยาเชิงระบบสำหรับเภสัชวิทยา | 2 | ||
วทภส๕๒๑ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๑ | 3 | ||
วทภส๕๒๒ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๒ | 2 | ||
วทภส615 : การอ่านและเขียนวรรณกรรมวิจัยทางเภสัชวิทยา | 1 | ||
วทภส๖๑๑ : เภสัชวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
วทภส๖๘๑ : สัมมนาทางเภสัชวิทยา | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ | 3 | ||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ | 3 | ||
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล | 2 | ||
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ | 1 | ||
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี | 1 | ||
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร | 1 | ||
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน | 1 | ||
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน | 1 | ||
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน | 1 | ||
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ | 1 | ||
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ | 1 | ||
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทคร๕๒๐ : ศาสตร์ทางการสอนและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ศึกษา | 2 | ||
วทภส๕๐๙ : เภสัชวิทยาภูมิคุ้มกัน | 1 | ||
วทภส๕๑๐ : เภสัชพันธุศาสตร์ | 1 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วทภส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ สิรดา ศรีหิรัญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บดี หนูโท
- รองศาสตราจารย์ ดาราวรรณ ปิ่นทอง
- รองศาสตราจารย์ นพวรรณ ภู่มาลา มอราเลส
- รองศาสตราจารย์ พรพรรณ วิวิธนาภรณ์
- รองศาสตราจารย์ ฤดี เหมสถาปัตย์
- รองศาสตราจารย์ ณัฏฐิณี จันทรรัตโนทัย
- อาจารย์ สมชาย ญาณโรจนะ
- ศาสตราจารย์ ศุภโชค มั่งมูล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิมทิพย์ สังวรินทะ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรานต์ สุขนันทร์ธะ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรทิพา กอประเสริฐถาวร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรรษกร ตันรัตนะ
- รองศาสตราจารย์ ณัฐวุธ สิบหมู่