เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เภสัชวิทยา)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

ผู้สมัครเข้าศึกษา แบบ ๑.๑
(๑) สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
(๒) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือเทียบเท่า
(๓) มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยดัานเภสัชวิทยาหรือวิทยาศาสตร์การแพทย์
ไม่น้อยกว่า ๒ ปี
(๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
(๕) ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัคร
เข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

ผู้สมัครเข้าศึกษา  แบบ ๒.๑
(๑) สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษารับรอง หรือ
(๒) สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง
จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง หรือ
(๓) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือเทียบเท่า
(๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
(๕) ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัคร
เข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

ผู้สมัครเข้าศึกษา  แบบ ๒.๒
(๑) สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีของหลักสูตรสาขาวิทยาศาสตร์ ได้แก่สาขาวิชา เคมี ชีวเคมี ชีววิทยา
เทคโนโลยีชีวภาพ พยาบาลศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ และสาธารณสุขศาสตร์ หรือสาขาวิชาอื่นที่
เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
(๒) สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตร-บัณฑิต สัตวแพทย
ศาสตรบัณฑิต จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
(๓) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือเทียบเท่า
(๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
(๕) ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัคร
เข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
และเรียนรายวิชา ตามคำแนะนำของกรรมการบริหารหลักสูตรเพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต
แบบ ๒
แบบ ๒.๑           
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒           
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- วิทยากรผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านเภสัชวิทยาในสถาบันอุดมศึกษา
- นักวิจัยด้านเภสัชวิทยาในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
- นักวิชาการด้านเภสัชวิทยาในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
- ผู้เชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษาด้านเภสัชวิทยา
- ผู้เชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษาในอุตสาหกรรมผลิตยา

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

ไม่ระบุหมวดวิชา หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทภส๖๘๒ : สัมมนาทางเภสัชวิทยาสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทภส๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทภส๕๐๑ : วิธีการทดลองปฏิบัติการทางเภสัชวิทยา 1
วทภส๕๐๒ : หลักการออกฤทธิ์ของยา 2
วทภส๕๑๑ : วิทยาการทางเภสัชวิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 2
วทภส๕๑๒ : พื้นฐานชีววิทยาเชิงระบบสำหรับเภสัชวิทยา 2
วทภส๕๒๑ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๑ 3
วทภส๕๒๒ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๒ 2
วทภส๖๑๖ : การวิเคราะห์และการเขียนวรรณกรรมวิจัยทางเภสัชวิทยา 1
วทภส๖๑๗ : การวิจัยขั้นสูงและนวัตกรรมทางเภสัชวิทยา 3
วทภส๖๘๒ : สัมมนาทางเภสัชวิทยาสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก 2
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทภส๖๑๖ : การวิเคราะห์และการเขียนวรรณกรรมวิจัยทางเภสัชวิทยา 1
วทภส๖๑๗ : การวิจัยขั้นสูงและนวัตกรรมทางเภสัชวิทยา 3
วทภส๖๘๒ : สัมมนาทางเภสัชวิทยาสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทคร๕๒๐ : ศาสตร์ทางการสอนและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ศึกษา 2
วทภส๕๐๙ : เภสัชวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทภส๕๑๐ : เภสัชพันธุศาสตร์ 1
วทภส๖๐๑ : แนวคิดทางคลินิกในเภสัชวิทยา 2
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทคร๕๒๐ : ศาสตร์ทางการสอนและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ศึกษา 2
วทภส๕๐๙ : เภสัชวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทภส๕๑๐ : เภสัชพันธุศาสตร์ 1
วทภส๖๐๑ : แนวคิดทางคลินิกในเภสัชวิทยา 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทภส๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทภส๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36