เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   19   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ชีวเคมี)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1: Research only
Plan 1.1: For students with a Master's degree
1) Applicants must hold a Master's degree in biochemistry, molecular biology, biology, chemistry, biological sciences, health sciences or related fields from institutions accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation.
2) Applicants must have a cumulative GPA of at least 3.50 on a 4-point scale.
3) Applicants must have at least one publication in an international peer-reviewed journal listed in Scopus database.
4) Applicants must meet the minimum English proficiency requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
5) Applicants whose qualifications differ from item 2) and item 4) may apply with approval from the Program Committee and the Dean of Faculty of Graduate Studies. 

Plan 2: Coursework and research
Plan 2.1: For students with a Master's degree
1) Applicants must hold a Master's degree in biochemistry, molecular biology, biology, chemistry, biological sciences, health sciences or related fields from institutions accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation.
2) Applicants must have a cumulative GPA of at least 3.50 on a 4-point scale.
3) Applicants must meet the minimum English proficiency requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
4) Applicants whose qualifications differ from items 2) and 3) may apply with approval from the Program Committee and the Dean of Faculty of Graduate Studies.

Plan 2.2: For students with a Bachelor's degree
1) Applicants must hold a Bachelor's degree in any area of science, pharmaceutical science, medicine, dentistry, veterinary medicine or other health sciences from institutions accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation.
2) Applicants must have a cumulative GPA of at least 3.50 on a 4-point scale.
3) Applicants must meet the minimum English proficiency requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
4) Applicants whose qualifications differ from items 2) and 3) may apply with approval from the Program Committee and the Dean of Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 13            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 11            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1.  A biochemist and molecular biologist in both public and private sectors
2.  A knowledge transfer specialist in biochemistry, molecular biology or other related fields in academic or research institutes
3.  An analyst in the fields relating to biochemistry and molecular biology in both public and private sectors

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทชค๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทชค๖๐๓ : ปฏิบัติการห้องทดลองทางชีวเคมีขั้นสูง 2
วทชค๖๐๙ : โครงสร้างและกลไกของเอนไซม์ 2
วทชค๖๑๐ : เมแทบอลิซึมยุคใหม่ 2
วทชค๖๑๒ : พันธุศาสตร์และจีโนมเชิงหน้าที่ 2
วทชค๖๑๓ : ทักษะทางการวิจัยชีวเคมีขั้นสูง 3
วทชค๖๑๔ : สัมมนาชีวเคมีขั้นสูง ๑ 1
วทชค๖๑๕ : สัมมนาชีวเคมีขั้นสูง ๒ 1
วทชค๖๑๖ : สัมมนาชีวเคมีขั้นสูง ๓ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทชค๖๐๗ : หัวข้อปัจจุบันทางชีวเคมี 3
วทชค๖๑๓ : ทักษะทางการวิจัยชีวเคมีขั้นสูง 3
วทชค๖๑๔ : สัมมนาชีวเคมีขั้นสูง ๑ 1
วทชค๖๑๕ : สัมมนาชีวเคมีขั้นสูง ๒ 1
วทชค๖๑๖ : สัมมนาชีวเคมีขั้นสูง ๓ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทชค๖๑๑ : วิธีวิจัยปัจจุบันทางชีวโมเลกุล 1
วทชค๖๑๗ : ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาระบบระดับโมเลกุล 2
วทชค๖๑๘ : ชีววิทยาศาสตร์ของเซลล์ต้นกำเนิดและมะเร็ง 3
วททช๖๐๒ : การควบคุมการแสดงออกของยีน 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทชค๖๑๑ : วิธีวิจัยปัจจุบันทางชีวโมเลกุล 1
วทชค๖๑๗ : ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาระบบระดับโมเลกุล 2
วทชค๖๑๘ : ชีววิทยาศาสตร์ของเซลล์ต้นกำเนิดและมะเร็ง 3
วททช๖๐๒ : การควบคุมการแสดงออกของยีน 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทชค๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทชค๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ศาสตราจารย์ เทวัญ จันทร์วิไลศรี   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง
  3. ศาสตราจารย์ ศราวุฒิ จิตรภักดี
  4. รองศาสตราจารย์ ดนยา ปโกฏิประภา
  5. รองศาสตราจารย์ จามร สมณะ
  6. รองศาสตราจารย์ จิรันดร ยูวะนิยม
  7. รองศาสตราจารย์ กิตติศักดิ์ หยกทองวัฒนา
  8. รองศาสตราจารย์ ลาเรน เจนเซน
  9. รองศาสตราจารย์ ปฐมพล วงศ์ตระกูลเกตุ
  10. รองศาสตราจารย์ สิทธินันท์ ชนะรัตน์
  11. รองศาสตราจารย์ ธเนศ กังสมัครศิลป์
  12. รองศาสตราจารย์ ตวงพร สุทธิพงษ์ชัย
  13. รองศาสตราจารย์ วโรดม เจริญสวรรค์
  14. รองศาสตราจารย์ กัลยา เกตุวงศา
  15. รองศาสตราจารย์ กรกมล เลิศสุวรรณ
  16. รองศาสตราจารย์ อรชุมา อิฐสถิตไพศาล
  17. รองศาสตราจารย์ รัชนก ตินิกุล
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศกลวรรณ คูหาอุดมลาภ
  19. อาจารย์ Mikhail Khvochtchev
  20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วราภรณ์ คำยอด
  21. อาจารย์ ณัฐวดี ปัญญาอินทร์