เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป เช่น จุลชีววิทยา ชีววิทยา ชีวเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ 
เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ เคมี อุตสาหกรรมอาหาร สัตวแพทย์ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ชีวภาพอื่น ๆ 
หรือเทียบเท่า
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร 
และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- นักวิชาการในสาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน วิทยาศาสตร์การแพทย์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ในสถาบันอุดมศึกษา หรือในหน่วยงานทางด้านวิทยาศาสตร์ของภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน
- นักวิจัย ผู้เชี่ยวชาญ หรือเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการ ทางด้านจุลินทรีย์ วิทยาภูมิคุ้มกัน วิทยาศาสตร์การแพทย์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
บฑคร๕๒๑ : จริยธรรมการวิจัย 1
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทจว๕๑๔ : ภูมิคุ้มกันวิทยา 1
วทจว๕๑๘ : จุลชีววิทยา 3
วทจว๖๑๕ : หัวข้อที่ทันสมัยเกี่ยวกับวิทยาภุมิคุ้มกัน 3
วทจว๖๑๖ : หัวข้อที่ทันสมัยเกี่ยวกับวิทยาแบคทีเรียและวิทยาเชื้อรา 3
วทจว๖๑๗ : หัวข้อที่ทันสมัยเกี่ยวกับวิทยาไวรัส 3
วทจว๖๑๘ : หัวข้อที่ทันสมัยเกี่ยวกับปรสิตวิทยา 3
วทจว๖๒๔ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทจว๖๒๕ : สัมมนาทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทจว๖๒๖ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ 1
วทจว๖๒๗ : สัมมนาทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทจว๕๑๑ : จุลชีววิทยาระดับโมเลกุล 3
วทจว๕๑๒ : การวิเคราะห์ลำดับโมเลกุล 2
วทจว๕๑๙ : เทคนิคในการวิจัยทางจุลชีววิทยา/วิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทจว๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ภากร เอี้ยวสกุล
  2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัมพา สุขสาธุ
  3. ศาสตราจารย์ พงศ์ศักดิ์ อุทัยสินธุเจริญ
  4. ศาสตราจารย์ ศุขธิดา อุบล
  5. ศาสตราจารย์ ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์
  6. รองศาสตราจารย์ พรพรรณ มาตังคสมบัติ ชูพงษ์
  7. รองศาสตราจารย์ มาริสา พลพวก
  8. รองศาสตราจารย์ สุรีย์มาศ บัวเทศ
  9. รองศาสตราจารย์ เสาวคนธ์ ภคอัครเลิศกุล
  10. รองศาสตราจารย์ โสรยา จาตุรงคกุล
  11. รองศาสตราจารย์ อรุณี ธิติธัญญานนท์
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Fabien Xavier Loison
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรเดช ศิริพัฒนพิพงษ์
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประเวช อรรจวัฒนวงศ์
  15. อาจารย์ ธน เตชะเลิศไพศาล
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผดุงศรี ดับส์
  17. อาจารย์ รดีกร อัครวงศาพัฒน์
  18. อาจารย์ วรดล สังข์นาค
  19. อาจารย์ อัครพล วัชราวิภาส