เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   28   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(กายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1 : Research Only
Plan 1.1 : For students with Master's degree:
(1) Hold a Master of Science degree in Anatomy, Anatomy and Structural Biology, Pathology, Physiology, Pharmacology, Microbiology, Biology, Medical Technology, or other related biological sciences from institutions which accredited by the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation
(2) Have cumulative GPA not less than 3.50
(3) Have at least 1 research article published in national or international journals, with their name as the first author
(4) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University
(5) Applicants who do not meet the qualification criteria in items (2) - (4) may be considered for admission by the program executive committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

Plan 2 : Courses work and Research
Plan 2.1 : For students with Master's degree:
(1) Hold a Master of Science degree in Anatomy, Anatomy and Structural Biology, Pathology, Physiology, Pharmacology, Microbiology, Biology, Medical Technology, or other related biological sciences from institutions which accredited by the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation
(2) Have cumulative GPA not less than 3.50, or have at least 1 research article published in national or international journals, with their name as the first author
(3) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University
(4) Applicants who do not meet the qualification criteria in items (2) - (3) may be considered for admission by the program executive committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

Plan 2.2 : For students with Bachelor's degree:
(1) Hold a Bachelor of Science degree, or hold a M.D., D.V.M., or D.D.S. from institutions which accredited by the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation
(2) Have cumulative GPA not less than 3.50
(3) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University
(4) Applicants who do not meet the qualification criteria in items (2) - (3) may be considered for admission by the program executive committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 20            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Specialist or consultant in Anatomy and Structural Biology in University or Institutes
2. Researcher in Anatomy and Structural Biology and related biomedical fields
3. Knowledge transfer specialist in government or private companies

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทกว๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทกว๕๐๑ : พื้นฐานทางกายวิภาคศาสตร์ของร่างกายมนุษย์ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทกว๕๑๑ : โครงสร้างและหน้าที่ของร่างกายมนุษย์ 3
วทกว๕๑๓ : โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะ 3
วทกว๕๑๔ : สาระสำคัญทางประสาทกายวิภาคศาสตร์เชิงโครงสร้างและหน้าที่ 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทกว๕๑๑ : โครงสร้างและหน้าที่ของร่างกายมนุษย์ 3
วทกว๕๑๒ : ปฏิบัติการมหกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ 2
วทกว๕๑๓ : โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะ 3
วทกว๕๑๔ : สาระสำคัญทางประสาทกายวิภาคศาสตร์เชิงโครงสร้างและหน้าที่ 3
วทกว๕๑๕ : วิทยาเอ็มบริโอมนุษย์ 1
วทกว๕๒๕ : การออกแบบและระเบียบวิธีการวิจัย 1
วทกว๖๐๑ : มหกายวิภาคศาสตร์ทางคลินิกขั้นสูง 1
วทกว๖๐๒ : จุลกายวิภาคศาสตร์บูรณาการ 1
วทกว๖๐๓ : หัวข้อปัจจุบันทางประสาทวิทยาศาสตร์บูรณาการ 1
วทกว๖๑๗ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๑ 1
วทกว๖๑๘ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๒ 1
วทกว๖๑๙ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๓ 1
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทกว๖๐๑ : มหกายวิภาคศาสตร์ทางคลินิกขั้นสูง 1
วทกว๖๐๒ : จุลกายวิภาคศาสตร์บูรณาการ 1
วทกว๖๐๓ : หัวข้อปัจจุบันทางประสาทวิทยาศาสตร์บูรณาการ 1
วทกว๖๑๗ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๑ 1
วทกว๖๑๘ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๒ 1
วทกว๖๑๙ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๓ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทกว๖๐๗ : ชีววิทยาโครงสร้างและจุลทรรศน์ขั้นสูง 2
วทกว๖๒๐ : หัวข้อคัดสรรทางประสาทวิทยาศาสตร์ระดับเซลล์ 1
วทกว๖๒๑ : หัวข้อหลักทางชีววิทยาการเจริญเชิงบูรณาการ 1
วทกว๖๒๓ : หัวข้อคัดสรรทางพันธุศาสตร์การแพทย์และการเจริญ 1
วทกว๖๒๕ : การประมวลภาพเพื่องานวิจัย 1
วทกว๖๒๖ : การสร้างภาพกายวิภาคศาสตร์สมัยใหม่ 1
วทกว๖๒๗ : ปฏิบัติการการสอน 2
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทชค๖๑๐ : เมแทบอลิซึมสมัยใหม่ 2
วทชค๖๑๑ : วิธีปัจจุบันในการวิจัยทางชีวโมเลกุล 1
วททช๕๐๒ : เทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทกว๖๒๑ : หัวข้อหลักทางชีววิทยาการเจริญเชิงบูรณาการ 1
วทกว๖๒๓ : หัวข้อคัดสรรทางพันธุศาสตร์การแพทย์และการเจริญ 1
วทกว๖๒๕ : การประมวลภาพเพื่องานวิจัย 1
วทกว๖๒๗ : ปฏิบัติการการสอน 2
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทชค๖๑๐ : เมแทบอลิซึมสมัยใหม่ 2
วทชค๖๑๑ : วิธีปัจจุบันในการวิจัยทางชีวโมเลกุล 1
วททช๕๐๒ : เทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทกว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทกว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ไกร มีมล   (รักษาการแทนประธานหลักสูตร)
  2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อธิคุณ สุวรรณชันธ์
  3. อาจารย์ ลภัสรดา ยุรศักดิ์พงศ์
  4. ศาสตราจารย์ กนกพรรณ วงศ์ประเสริฐ
  5. รองศาสตราจารย์ กุลธิดา ชัยธีระยานนท์
  6. รองศาสตราจารย์ รพีพรรณ วานิชวิริยกิจ
  7. รองศาสตราจารย์ สมลักษณ์ อสุวพงษ์พัฒนา
  8. รองศาสตราจารย์ วัฒนา วีรชาติยานุกูล
  9. รองศาสตราจารย์ ยสวันต์ ตินิกุล
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชินวุฒิ สุริยนเปล่งแสง
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มรกต สร้อยระย้า
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพพร จงกมลวิวัฒน์
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนพงศ์ เครื่องคำ
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ ศุภมั่งมี
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มนสิชา สมฤทธิ์
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เพชรัตน์ พานทอง