ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | คณะวิทยาศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sc.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(กายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท ๑.๑ เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ๑.๒ ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓.๕๐ ๑.๓ ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ๒. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี ๒.๑ สำเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ย สะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่าเกียรตินิยมอันดับสอง สำเร็จการศึกษาปริญญาสาขาแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ และทันตแพทยศาสตร์ ๒.๒ ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการ ๒.๓ คัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขากายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง คณะวิทยาศาสตร์ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 7 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 5 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาอื่น ๆ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 11 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 5 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 52 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 20 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 5 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 73 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ และทันตแพทยศาสตร์ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 12 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้ชำนาญการด้านกายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง
- นักวิชาการสาขากายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้างในสถาบันการศึกษา
- นักวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ และวิทยาศาสตร์ในสถาบันวิชาการของภาครัฐและเอกชน องค์กร ระหว่างประเทศและองค์กรอิสระ
- เป็นที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ ในระดับภูมิภาค หรือนานาชาติ
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 1
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วทกว๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
แบบ 2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี | |||
วทกว๕๐๒ : ชีววิทยาระบบประสาทโครงสร้าง | 3 | ||
วทกว๕๒๑ : การชำแหละมหกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ | 2 | ||
วทกว๕๒๒ : ชีววิทยาโครงสร้างของเซลล์และเนื้อเยื่อ | 3 | ||
วทกว๕๒๓ : โครงสร้างและพัฒนาการของร่างกายมนุษย์ | 3 | ||
วทกว๖๐๖ : หัวข้อขั้นสูงทางชีววิทยาระดับเซลและโครงสร้าง | 1 | ||
วทกว๖๑๕ : หัวข้อขั้นสูงทางประสาทวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทกว๖๑๗ : สัมมนาทางวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๑ | 1 | ||
วทกว๖๑๘ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๒ | 1 | ||
วทกว๖๑๙ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๓ | 1 | ||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ | 1 | ||
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท สาขากายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง หรือสาขากายวิภาคศาสตร์ | |||
วทกว๖๐๖ : หัวข้อขั้นสูงทางชีววิทยาระดับเซลและโครงสร้าง | 1 | ||
วทกว๖๑๕ : หัวข้อขั้นสูงทางประสาทวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทกว๖๑๗ : สัมมนาทางวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๑ | 1 | ||
วทกว๖๑๘ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๒ | 1 | ||
วทกว๖๑๙ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๓ | 1 | ||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา สาขาแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ และทันตแพทยศาสตร์ | |||
วทกว๖๐๖ : หัวข้อขั้นสูงทางชีววิทยาระดับเซลและโครงสร้าง | 1 | ||
วทกว๖๑๕ : หัวข้อขั้นสูงทางประสาทวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทกว๖๑๗ : สัมมนาทางวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๑ | 1 | ||
วทกว๖๑๘ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๒ | 1 | ||
วทกว๖๑๙ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๓ | 1 | ||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ | 3 | ||
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ | 1 | ||
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สาขาอื่นๆ | |||
วทกว๕๐๒ : ชีววิทยาระบบประสาทโครงสร้าง | 3 | ||
วทกว๕๒๒ : ชีววิทยาโครงสร้างของเซลล์และเนื้อเยื่อ | 3 | ||
วทกว๖๐๖ : หัวข้อขั้นสูงทางชีววิทยาระดับเซลและโครงสร้าง | 1 | ||
วทกว๖๑๕ : หัวข้อขั้นสูงทางประสาทวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทกว๖๑๗ : สัมมนาทางวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๑ | 1 | ||
วทกว๖๑๘ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๒ | 1 | ||
วทกว๖๑๙ : สัมมนาทางการวิจัยระดับแนวหน้าด้านกายวิภาคศาสตร์ และชีววิทยาโครงสร้าง ๓ | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วทกว๖๐๗ : ชีววิทยาโครงสร้างและจุลทรรศน์ขั้นสูง | 2 | ||
วทกว๖๒๐ : หัวข้อคัดสรรประสาทวิทยาศาสตร์ระดับเซลล์ | 1 | ||
วทกว๖๒๑ : หัวข้อหลักในชีววิทยาการเจริญเชิงบูรณาการ | 1 | ||
วทกว๖๒๒ : พัฒนาการของเอ็มบริโอมนุษย์ | 2 | ||
วทกว๖๒๓ : หัวข้อคัดสรรทางพันธุศาสตร์การแพทย์และการเจริญ | 1 | ||
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล | 2 | ||
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ | 1 | ||
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี | 1 | ||
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร | 1 | ||
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน | 1 | ||
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน | 1 | ||
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ | 1 | ||
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ | 3 | ||
วทคร๕๓๑ : การประยุกต์คอมพิวเตอร์ | 3 | ||
วทคร๕๓๒ : การเขียนโปรแกรม | 3 | ||
วทคร๕๓๓ : การประยุกต์โปรแกรมประมวลคำและนำเสนอข้อมูลสำหรับงานวิจัย | 1 | ||
วทคร๕๓๔ : การประยุกต์โปรแกรมตารางคำนวณสำหรับงานวิจัย | 1 | ||
วทคร๕๓๕ : การจัดการฐานข้อมูลสำหรับงานวิจัย | 1 | ||
วทชค๖๑๐ : เมแทบอลิซึมสมัยใหม่ | 2 | ||
วทชค๖๑๑ : วิธีวิจัยปัจจุบันทางชีวโมเลกุล | 1 | ||
วททช๕๐๒ : เทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วทกว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
วทกว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ กุลธิดา ชัยธีระยานนท์
- รองศาสตราจารย์ รพีพรรณ วานิชวิริยกิจ
- รองศาสตราจารย์ เจริญศรี ธนบุญสมบัติ
- ศาสตราจารย์ กนกพรรณ วงศ์ประเสริฐ
- รองศาสตราจารย์ เพิ่มพันธุ์ ธรรมสโรช
- รองศาสตราจารย์ วัฒนา วีรชาติยานุกูล
- รองศาสตราจารย์ สมลักษณ์ อสุวพงษ์พัฒนา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อธิคุณ สุวรรณชันธ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมยศ ศรีดุรงฤทธิ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เพชรัตน์ พานทอง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐเมธี เครือภูงา
- รองศาสตราจารย์ นพพร จงกมลวิวัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มรกต สร้อยระย้า
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สิทธิพล อินทรพัฒน์
- รองศาสตราจารย์ ไกร มีมล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนพงศ์ เครื่องคำ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มนสิชา สมฤทธิ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ ศุภมั่งมี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชินวุฒิ สุริยนเปล่งแสง
- รองศาสตราจารย์ ยสวันต์ ตินิกุล