ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาคลินิกและการจัดการทางห้องปฏิบัติการ
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
เว็บไซต์ |
https://www.si.mahidol.ac.th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(จุลชีววิทยาคลินิกและการจัดการทางห้องปฏิบัติการ)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ก แบบ ก ๒ (๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการแพทย์ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการสัตวแพทย์ แพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หรือ เภสัชศาสตรบัณฑิต จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษารับรอง (๒) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา สาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ สาขาในข้อที่ ๑ ต้องมีประสบการณ์ในการทำงานในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาวินิจฉัยมาไม่น้อยกว่า ๒ ปี ณ วันที่สมัคร พร้อมหลักฐานการทำงานจากหน่วยงานต้นสังกัด (๓) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๔) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย (๕) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหลือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แผน ข (๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการแพทย์ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการสัตวแพทย์ แพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หรือ เภสัชศาสตรบัณฑิต จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ หรือ ร้อยละ ๗๕ (๓) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย (๔) มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาวินิจฉัยมาไม่น้อยกว่า ๒ ปี ณ วันที่สมัคร
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้ปฏิบัติงานในห้องตรวจจุลชีววินิจฉัย
- ผู้จัดการหรือหัวหน้าห้องปฏิบัติการจุลชีววินิจฉัย
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ศรจว๕๓๑ : แบคทีเรียวิทยาคลินิก | 1 | ||
ศรจว๕๓๒ : เชื้อราและมัยโคแบคทีเรียวิทยาคลินิก | 1 | ||
ศรจว๕๓๓ : ไวรัสวิทยาคลินิก | 1 | ||
ศรจว๕๓๔ : การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นพื้นฐานของการติดเชื้อแบคทีเรีย มัยโคแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๕๓๕ : การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นพื้นฐานของการติดเชื้อไวรัส และเทคนิคระดับโมเลกุลทางจุลชีววิทยาวินิจฉัย | 1 | ||
ศรจว๕๓๖ : ปฏิบัติการพื้นฐานและเทคนิคระดับโมเลกุลการวินิจฉัยการติดเชื้อแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๕๓๗ : ปฏิบัติการพื้นฐานและเทคนิคระดับโมเลกุลการวินิจฉัยการติดเชื้อราและมัยโคแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๕๓๘ : ปฏิบัติการพื้นฐานและเทคนิคระดับโมเลกุลการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัส | 1 | ||
ศรจว๕๓๙ : การจัดการทางห้องปฏิบัติการจุลชีววินิจฉัย | 1 | ||
ศรจว๕๔๑ : การพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการจุลชีวคลินิก | 1 | ||
ศรจว๕๔๒ : ความปลอดภัยทางชีวภาพ และชีวนิรภัยในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาการแพทย์ | 1 | ||
ศรจว๕๔o : การควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการจุลชีววินิจฉัย | 1 | ||
ศรจว๖๓๑ : สัมมนาจุลชีววิทยาคลินิกและการจัดการทางห้องปฏิบัติการ | 1 | ||
ศรจว๖๓๒ : เทคนิคการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต | 1 | ||
ศรจว๖๓๓ : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยทางจุลชีววิทยาวินิจฉัย | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ศรจว๕๔๓ : พันธุศาสตร์ของแบคทีเรียฐานราก | 1 | ||
ศรจว๕๔๔ : พันธุศาสตร์ของแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๑ : หลักการของการวิเคราะห์ไมโครไบโอม | 1 | ||
ศรจว๖๔๒ : การติดและการตรวจหาเชื้อริกเก็ตเซีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๓ : ความสัมพันธ์ทางคลินิกในการตรวจวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรีย รา และมัยโคแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๔ : ความสัมพันธ์ทางคลินิกในการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัส | 1 | ||
ศรจว๖๔๕ : ระบาดวิทยาโมเลกุลของโรคที่เกิดจากการติดเชื้อรา | 1 | ||
ศรจว๖๔๖ : ระบาดวิทยาโมเลกุลของโรคที่เกิดจากการติดเชื้อมัยโคแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๗ : ระบาดวิทยาโมเลกุลของโรคที่เกิดจากการติดแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๘ : ระบาดวิทยาโมเลกุลของโรคที่เกิดจากการติดไวรัส | 1 | ||
ศรจว๖๔๙ : การวินิจฉัยจุลชีพดื้อยา | 1 | ||
ศรจว๖๕๐ : พีซีอาร์แบบเรียลไทม์ทางงานจุลชีววินิจฉัย | 1 | ||
ศรจว๖๕๑ : เทคนิคแมสสเปกโตรเมทรีทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์ | 1 | ||
ศรจว๖๕๒ : ชีวสารสนเทศทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์ | 1 | ||
ศรจว๖๕๓ : เทคโนโลยีนวัตกรรมของการทดสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วยทางจุลชีววิทยาคลินิก | 1 | ||
ศรจว๖๕๔ : โรคไวรัสอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ | 1 | ||
ศรจว๖๕๕ : โรคแบคทีเรีย รา และ มัยโคแบคทีเรียอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ | 1 | ||
ศรจว๖๕๖ : จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม | 1 | ||
ศรจว๖๕๗ : การทดสอบทางจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม | 1 | ||
ศรจว๖๖๐ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางจุลชีววิทยาวินิจฉัย | 1 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ศรจว๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ศรจว๕๓๑ : แบคทีเรียวิทยาคลินิก | 1 | ||
ศรจว๕๓๒ : เชื้อราและมัยโคแบคทีเรียวิทยาคลินิก | 1 | ||
ศรจว๕๓๓ : ไวรัสวิทยาคลินิก | 1 | ||
ศรจว๕๓๔ : การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นพื้นฐานของการติดเชื้อแบคทีเรีย มัยโคแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๕๓๕ : การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นพื้นฐานของการติดเชื้อไวรัส และเทคนิคระดับโมเลกุลทางจุลชีววิทยาวินิจฉัย | 1 | ||
ศรจว๕๓๖ : ปฏิบัติการพื้นฐานและเทคนิคระดับโมเลกุลการวินิจฉัยการติดเชื้อแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๕๓๗ : ปฏิบัติการพื้นฐานและเทคนิคระดับโมเลกุลการวินิจฉัยการติดเชื้อราและมัยโคแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๕๓๘ : ปฏิบัติการพื้นฐานและเทคนิคระดับโมเลกุลการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัส | 1 | ||
ศรจว๕๓๙ : การจัดการทางห้องปฏิบัติการจุลชีววินิจฉัย | 1 | ||
ศรจว๕๔๑ : การพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการจุลชีวคลินิก | 1 | ||
ศรจว๕๔๒ : ความปลอดภัยทางชีวภาพ และชีวนิรภัยในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาการแพทย์ | 1 | ||
ศรจว๕๔o : การควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการจุลชีววินิจฉัย | 1 | ||
ศรจว๖๓๑ : สัมมนาจุลชีววิทยาคลินิกและการจัดการทางห้องปฏิบัติการ | 1 | ||
ศรจว๖๓๒ : เทคนิคการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต | 1 | ||
ศรจว๖๓๓ : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยทางจุลชีววิทยาวินิจฉัย | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ศรจว๕๔๓ : พันธุศาสตร์ของแบคทีเรียฐานราก | 1 | ||
ศรจว๕๔๔ : พันธุศาสตร์ของแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๑ : หลักการของการวิเคราะห์ไมโครไบโอม | 1 | ||
ศรจว๖๔๒ : การติดและการตรวจหาเชื้อริกเก็ตเซีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๓ : ความสัมพันธ์ทางคลินิกในการตรวจวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรีย รา และมัยโคแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๔ : ความสัมพันธ์ทางคลินิกในการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัส | 1 | ||
ศรจว๖๔๕ : ระบาดวิทยาโมเลกุลของโรคที่เกิดจากการติดเชื้อรา | 1 | ||
ศรจว๖๔๖ : ระบาดวิทยาโมเลกุลของโรคที่เกิดจากการติดเชื้อมัยโคแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๗ : ระบาดวิทยาโมเลกุลของโรคที่เกิดจากการติดแบคทีเรีย | 1 | ||
ศรจว๖๔๘ : ระบาดวิทยาโมเลกุลของโรคที่เกิดจากการติดไวรัส | 1 | ||
ศรจว๖๔๙ : การวินิจฉัยจุลชีพดื้อยา | 1 | ||
ศรจว๖๕๐ : พีซีอาร์แบบเรียลไทม์ทางงานจุลชีววินิจฉัย | 1 | ||
ศรจว๖๕๑ : เทคนิคแมสสเปกโตรเมทรีทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์ | 1 | ||
ศรจว๖๕๒ : ชีวสารสนเทศทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์ | 1 | ||
ศรจว๖๕๓ : เทคโนโลยีนวัตกรรมของการทดสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วยทางจุลชีววิทยาคลินิก | 1 | ||
ศรจว๖๕๔ : โรคไวรัสอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ | 1 | ||
ศรจว๖๕๕ : โรคแบคทีเรีย รา และ มัยโคแบคทีเรียอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ | 1 | ||
ศรจว๖๕๖ : จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม | 1 | ||
ศรจว๖๕๗ : การทดสอบทางจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม | 1 | ||
ศรจว๖๖๐ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางจุลชีววิทยาวินิจฉัย | 1 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ศรจว๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุล (ประธานหลักสูตร)
- ศาสตราจารย์ ประเสริฐ เอื้อวรากุล
- รองศาสตราจารย์ ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์
- ศาสตราจารย์ ภัทรชัย กีรติสิน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จตุรงค์ เสวตานนท์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฏฐนันท์ ปิ่นชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุติกาญจน์ ชัยมาโย
- รองศาสตราจารย์ นาวิน ห่อทองคำ
- อาจารย์ สุภาเทพ ตัณศิริชัยยา
- รองศาสตราจารย์ พบชัย งามสกุลรุ่งโรจน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กมล สุวรรณการ
- อาจารย์ ภูมิ ชัยรัตน์
- อาจารย์ วิชชุดา กมลวิทย์