ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
เว็บไซต์ |
https://www.si.mahidol.ac.th/th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(วิทยาศาสตร์การแพทย์)
จุดเด่นของหลักสูตร
The structure of this program has 5 components. Each applicant requires 24 credits from the following components.
(I) Clinical core Subjects 7 Credits
(II) Clinical Statistics and Biomedical Informatics 4 Credits
(III) Cancer Professional Training Subjects 5 Credits
(IV) Research core subjects 8 Credits and another 48 credits from the following component
(V) Experiments and Thesis Writing 48 Credits
* This program is a joint program collaborating between Mahidol University and Tokyo Medical and Dental University, Japan
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
1. Holding a Bachelor's Degree or equivalent in Medicine (M.D.) or Surgery (MBBS). 2. Have cumulative GPA not less than 3.50. 3. Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies 4. Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies 5. Qualifications different from 2 - 4 may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 2.2 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 7 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 17 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. Specialist doctor in medical science 2. Medical Sciences Researcher
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 2
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
Component I Clinical core Subjects | |||
๔๘๐๑ : วิชาแกนทางคลินิก ๑ (SCIENCE TOKYO) | 2 | ||
๔๘๐๓ : วิชาแกนทางคลินิก ๒ | 5 | ||
ศรวพ๖๐๑ : วิชาแกนทางคลินิก ๑ | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
Component II Clinical Statistics and Biomedical informatics | |||
๔๘๑๐ : เวชศาสตร์ชุมชนทั่วไปในการป้องกันโรค | 2 | ||
๔๘๑๑ : ระบาดวิทยา | 2 | ||
๔๘๑๒ : ชีวสถิติทางคลินิกและสถิติทางพันธุกรรม | 2 | ||
ศรศส๖๒๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางชีวการแพทย์ | 2 | ||
ศรศส๖๒๑ : ชีวสถิติสำหรับชีวการแพทย์ | 2 | ||
Component III Cancer Professional Training Subjects | |||
: | 0 | ||
๔๘๒๐ : ชีววิทยา พยาธิวิทยา และกายวิภาคทั่วไปของมะเร็ง | 1 | ||
๔๘๒๑ : การรักษามะเร็งด้วยการส่องกล้อง ๑ | 1 | ||
๔๘๒๒ : การรักษามะเร็งด้วยการส่องกล้อง ๒ | 1 | ||
๔๘๒๓ : มะเร็งจำเพาะต่ออวัยวะ | 1 | ||
๔๘๒๔ : มะเร็งในเด็กและมะเร็งชนิดหายาก | 1 | ||
๔๘๒๕ : มะเร็งวิทยาทางคลินิกขั้นสูง | 1 | ||
๔๘๒๖ : พันธุศาสตร์มะเร็งและการแพทย์แม่นยำ | 1 | ||
๔๘๒๗ : ภาพรวมการรักษาแบบประคับประคอง | 1 | ||
ศรศส๖๐๑ : ชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกันมะเร็งประยุกต์ | 1 | ||
ศรศส๖๐๒ : เซลล์ต้นกำเนิดสำหรับผู้ป่วยทางศัลยกรรม | 1 | ||
ศรศส๖๐๓ : การส่องกล้องผ่าตัดขั้นพื้นฐาน | 1 | ||
ศรศส๖๐๗ : การส่องกล้องมะเร็งทางเดินอาหารสหสาขาขั้นสูง | 1 | ||
ศรศส๖๐๘ : การดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด | 1 | ||
ศรศส๖๐๙ : การผ่าตัดด้วยหุ่นยนต์ทางยูโรวิทยา | 1 | ||
ศรศส๖๑๖ : การถ่ายภาพมะเร็ง | 1 | ||
ศรศส๖๑๙ : ห้องปฎิบัติการพื้นฐานทางศัลยศาสตร์ | 1 | ||
ศรศส๖๒๓ : วิทยาศาสตร์พื้นฐานและการประยุกต์ทางคลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ | 1 | ||
ศรศส๖๒๖ : การดูแลผู้ป่วยก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็ง | 1 | ||
ศรศส๖๒๗ : การบำบัดมะเร็งทางนรีเวช | 1 | ||
Component IV Research core subjects (Biomedical sciences related to Surgery) | |||
๔๘๔๐ : ศัลยศาสตร์เฉพาะทาง | 4 | ||
๔๘๔๑ : ศัลยศาสตร์ทางเดินอาหาร | 4 | ||
๔๘๔๒ : ศัลยศาสตร์ตับท่อน้ำดีและตับอ่อน | 4 | ||
๔๘๔๓ : ศัลยศาสตร์ศรีษะและคอ | 4 | ||
๔๘๔๔ : ยูโรวิทยา | 4 | ||
๔๘๕๑ : มะเร็งนรีเวชวิทยา | 4 | ||
๔๘๖๑ : การควบคุมเซลล์ต้นกำเนิด | 4 | ||
๔๘๖๒ : กายวิภาคคลินิก | 4 | ||
๔๘๖๓ : ชีววิทยาเชิงพัฒนาการและฟื้นฟูสภาวะ | 4 | ||
๔๘๖๔ : ชีวกลศาสตร์ | 4 | ||
๔๘๖๕ : มะเร็งวิทยาคลินิก | 4 | ||
ศรศส๖๑๐ : ศัลยศาสตร์มะเร็งทางเดินอาหารส่วนบน | 4 | ||
ศรศส๖๑๑ : ศัลยศาสตร์มะเร็งทางเดินอาหารส่วนล่าง | 4 | ||
ศรศส๖๑๒ : ศัลยศาสตร์ตับ ตับอ่อน ทางเดินน้ำดี | 4 | ||
ศรศส๖๑๓ : ศัลยศาสตร์หลอดเลือด | 4 | ||
ศรศส๖๑๔ : ยูโรวิทยา | 4 | ||
ศรศส๖๑๕ : แนวทางสหสาขาต่อโรคทางศัลยศาสตร์ศีรษะ คอและเต้านม | 4 | ||
ศรศส๖๑๗ : หลักการทางเภสัชวิทยาเชิงระบบ | 4 | ||
ศรศส๖๑๘ : วิทยาศาสตร์เซลล์ต้นกำเนิด | 4 | ||
ศรศส๖๒๒ : ศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอก | 4 | ||
ศรศส๖๒๔ : ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์บูรณสภาพในผู้ใหญ่ | 4 | ||
ศรศส๖๒๕ : วิสัญญีวิทยาและการดูแลผู้ป่วยก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัด ในผู้ป่วยมะเร็ง | 4 | ||
ศรศส๖๒๘ : มะเร็งนรีเวชวิทยา | 4 | ||
ศรศส๖๒๙ : ศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ | 4 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
Component V Experiments and Thesis Writing | |||
๔๘๗๐ : การทดลองและการเขียนวิทยานิพนธ์ | 24 | ||
ศรศส๗๙๙ : การทดลองและการเขียนวิทยานิพนธ์ (MU) | 24 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ วิทูร ชินสว่างวัฒนกุล (ประธานหลักสูตร)
- ศาสตราจารย์ ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร
- ศาสตราจารย์ เทตสึยะ ทากะ
- ศาสตราจารย์ ยูสุเกะ คินุกาสะ
- รองศาสตราจารย์ วรมินทร์ เหรียญสุวรรณ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิรวัฒน์ สว่างศรี
- ศาสตราจารย์ ฮิโรชิ นิชินะ
- ศาสตราจารย์คลินิก อัษฎา เมธเศรษฐ
- ศาสตราจารย์ ธวัชชัย อัครวิพุธ
- รองศาสตราจารย์ เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์
- ศาสตราจารย์ วรุตม์ โล่ห์สิริวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ ณัฐวุฒิ เสริมสาธนสวัสดิ์
- รองศาสตราจารย์ ชุมพล ว่องวานิช
- รองศาสตราจารย์ สืบวงศ์ จุฑาภิสิทธิ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุติวิชัย โตวิกภัย
- ศาสตราจารย์ เคอิจิ อากิตะ
- ศาสตราจารย์ เคอิโกะ นาคามูระ
- รองศาสตราจารย์ สิทธิพร ศรีนวลนัด
- รองศาสตราจารย์ ประเวชย์ มหาวิทิตวงศ์
- ศาสตราจารย์ มาซาฮิโกะ มิอุระ
- ศาสตราจารย์ Taskahiro Asakage
- ศาสตราจารย์ Tohifumi Kudo
- รองศาสตราจารย์ Takuya Okada
- ศาสตราจารย์ Yasuo Hamamoto
- ศาสตราจารย์ Yasuhisa Fujii