ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
เว็บไซต์ |
http://www.si.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ก แบบ ก๒ ๑. สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ด้านศึกษาศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต หรือปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ พยาบาลศาสตร์ เภสัชศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ เป็นต้น) จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง หรือ ๒. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาอื่นๆ นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในข้อ ๒.๒.๑ ร่วมกับมีประสบการณ์ทำงานทางการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ไม่น้อยกว่า ๓ ปี และมีใบรับรองจากผู้บังคับบัญชา ๓. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๗๕ ๔. มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย ๕. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แผน ข ๑.สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาตรี ด้านศึกษาศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต หรือปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ พยาบาลศาสตร์ เภสัชศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ เป็นต้น) จากสถาบันอุดมศึกษาซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง หรือ ๒.สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาอื่นๆ นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในข้อ ๒.๒.๑ ร่วมกับมีประสบการณ์ทำงานทางการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ไม่น้อยกว่า ๓ ปี และมีใบรับรองจากผู้บังคับบัญชา ๓.ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๗๕ ๔. มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย ๕. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 20 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 4 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาบังคับ | 20 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 10 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิชาการศึกษาหรือนักวิจัยการศึกษา
- ผู้บริหารหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ
- ครูผู้สอนในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ (สำหรับผู้ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานวิชาชีพ ของหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ)
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ศรกส๕๓๑ : หลักการพื้นฐานงานวิจัยทางการศึกษา | 2 | ||
ศรกส๕๓๒ : การเรียนรู้ในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๓ : หลักการพื้นฐานการวัดผลการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๔ : พื้นฐานการพัฒนาและประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๕ : วิธีการวิจัยทางการศึกษา | 2 | ||
ศรกส๕๓๖ : ทฤษฎีการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๗ : วิธีวัดผลการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๘ : แนวทางการพัฒนาและประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๙ : วิธีการสอนในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๐ : สัมมนาการวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ศรกส๕๔๑ : กระบวนการพัฒนาข้อสอบในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๒ : สถานการณ์จำลองในการสอนและวัดผลในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 1 | ||
ศรกส๕๔๓ : วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๔ : วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ | 2 | ||
ศรกส๕๔๕ : สถิติพื้นฐานทางการศึกษา | 2 | ||
ศรกส๕๔๖ : เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๗ : การประกันคุณภาพการศึกษาในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๘ : การพัฒนาอาจารย์ทางการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๙ : ภาวะผู้นำกับการจัดการองค์กรทางการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๕๐ : การจัดประสบการณ์ทางคลินิกและการสะท้อนความคิด | 1 | ||
ศรกส๕๕๑ : ทักษะการสื่อสารพื้นฐานในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๕๒ : นวัตกรรมการศึกษาในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 1 | ||
ศรกส๕๕๓ : การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 1 | ||
ศรกส๕๕๔ : จิตวิทยาในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 1 | ||
ศรกส๕๕๕ : การวัดผลทางการศึกษาขั้นสูง | 1 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ศรกส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ศรกส๕๓๑ : หลักการพื้นฐานงานวิจัยทางการศึกษา | 2 | ||
ศรกส๕๓๒ : การเรียนรู้ในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๓ : หลักการพื้นฐานการวัดผลการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๔ : พื้นฐานการพัฒนาและประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๕ : วิธีการวิจัยทางการศึกษา | 2 | ||
ศรกส๕๓๖ : ทฤษฎีการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๗ : วิธีวัดผลการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๘ : แนวทางการพัฒนาและประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๓๙ : วิธีการสอนในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๐ : สัมมนาการวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ศรกส๕๔๑ : กระบวนการพัฒนาข้อสอบในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๒ : สถานการณ์จำลองในการสอนและวัดผลในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 1 | ||
ศรกส๕๔๓ : วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๔ : วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ | 2 | ||
ศรกส๕๔๕ : สถิติพื้นฐานทางการศึกษา | 2 | ||
ศรกส๕๔๖ : เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๗ : การประกันคุณภาพการศึกษาในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๘ : การพัฒนาอาจารย์ทางการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๔๙ : ภาวะผู้นำกับการจัดการองค์กรทางการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๕๐ : การจัดประสบการณ์ทางคลินิกและการสะท้อนความคิด | 1 | ||
ศรกส๕๕๑ : ทักษะการสื่อสารพื้นฐานในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ศรกส๕๕๒ : นวัตกรรมการศึกษาในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 1 | ||
ศรกส๕๕๓ : การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 1 | ||
ศรกส๕๕๔ : จิตวิทยาในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 1 | ||
ศรกส๕๕๕ : การวัดผลทางการศึกษาขั้นสูง | 1 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ศรกส๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย (ประธานหลักสูตร)
- อาจารย์ ปาริชาต อภิเดชากุล
- รองศาสตราจารย์ ทศ หาญรุ่งโรจน์
- รองศาสตราจารย์ ทัศนียา รัตนฤาทัย นพรัตน์แจ่มจำรัส
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยอดยิ่ง แดงประไพ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุประพัฒน์ สนใจพาณิชย์
- อาจารย์ วินิทรา แก้วพิลา
- รองศาสตราจารย์ เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์
- รองศาสตราจารย์ อาบอรุณ เลิศขจรสุข
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชมพูนุท คงสวัสดิ์วรกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฏฐิดา โอวัฒนาพานิช
- รองศาสตราจารย์ กษณา รักษมณี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปองทอง ปูรานิธี
- รองศาสตราจารย์ ตรีภพ เลิศบรรณพงษ์
- อาจารย์ รังสิมา ทินมณี