เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอาทิตย์ที่   19   พฤษภาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
เว็บไซต์ http://med.mahidol.ac.th/commdis/

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย)

วิชาเอก

  • แก้ไขการพูด
  • แก้ไขการได้ยิน
  • คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

    (๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อ ความหมายหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
    (๒) มีใบประกอบโรคศิลปะสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
    (๓) คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด
    (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๒) - (๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

    โครงสร้างหลักสูตร

    แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
    วิชาเอกแก้ไขการพูด
    หมวดวิชาแกน 4            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 20            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
    รวมไม่น้อยกว่า 40            หน่วยกิต
    วิชาเอกแก้ไขการได้ยิน
    หมวดวิชาแกน 4            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 22            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 2            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
    รวมไม่น้อยกว่า 40            หน่วยกิต

    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


    - . นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย (แก้ไขการพูด และแก้ไขการได้ยิน)
    - นักวิจัย/ผู้ช่วยนักวิจัย

    รายวิชาในหลักสูตร

    แผน ก แบบ ก2

    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
    รมวส๖๐๓ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยของวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย 2
    รมวส๖๔๒ : วิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมายในผู้สูงอายุ 2
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
       วิชาเอกแก้ไขการพูด
    รมวส๕๒๔ : ปฏิบัติการคลินิกภาษาและการพูด ๑ 3
    รมวส๕๒๖ : ปฏิบัติการคลินิกภาษาและการพูด ๒ 3
    รมวส๕๓๓ : ความผิดปกติด้านภาษาและการพูดเนื่องมาจากระบบประสาท 3
    รมวส๖๑๖ : เสียงผิดปกติ 3
    รมวส๖๑๘ : การพูดของผู้ที่มีปากแหว่ง เพดานโหว่ 2
    รมวส๖๓๙ : ปฏิบัติการคลินิกภาษาและการพูด ๓ 3
    รมวส๖๔๗ : สัมมนาด้านการพูดและภาษา 3
       วิชาเอกแก้ไขการได้ยิน
    รมวส๕๒๕ : ปฎิบัติงานคลินิกการได้ยิน ๑ 3
    รมวส๕๒๗ : ปฏิบัติการคลินิกการได้ยิน ๒ 3
    รมวส๕๓๐ : อุปกรณ์ช่วยการได้ยินขั้นสูง 2
    รมวส๕๓๑ : คลื่นไฟฟ้าของระบบการได้ยินขั้นสูง 2
    รมวส๕๓๒ : ระบบการทรงตัวและการฟื้นฟูสมรรถภาพการทรงตัว 3
    รมวส๖๓๓ : การได้ยินในเด็ก 3
    รมวส๖๔๐ : ปฏิบัติการคลินิกการได้ยิน ๓ 3
    รมวส๖๔๘ : สัมมนาด้านการได้ยิน 3
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
       วิชาเอกแก้ไขการพูด
    รมวส๖๑๗ : การพูดติดอ่าง 2
    รมวส๖๒๕ : ความผิดปกติทางการกลืน 2
    รมวส๖๔๙ : หัวข้อพยาธิวิทยาทางการพูดขั้นสูง 2
       วิชาเอกแก้ไขการได้ยิน
    รมวส๖๔๕ : ความผิดปกติของระบบการได้ยินในสมองส่วนกลาง 1
    รมวส๖๕๐ : เสียงดังในหู 1
    รมวส๖๕๑ : การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติงานด้านการได้ยิน 1
    รมวส๖๕๒ : การตรวจวินิจฉัยระบบการทรงตัวขั้นสูง 1
    รมวส๖๕๓ : พื้นฐานการวิจัยทางด้านการได้ยิน 1
    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
    รมวส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12