เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   25   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
เว็บไซต์ http://www.lc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(วัฒนธรรมศึกษา)

จุดเด่นของหลักสูตร

เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนสามารถออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Taiormaou) นักศึกษาได้เรียนรู้ด้าน วัฒนธรรมศึกษาอย่างเป็นองค์รวม เป็นผู้รู้รอบอย่างลึกซึ้งในเชิงทฤษฎี ลัทธิวิทยา หรือเนื้อหาเฉพาะด้าน ของกลุ่มวิชาต่างๆ

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

แผน  ก แบบ  ก๒
๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขาจากสถาบันในประเทศ หรือต่างประเทศ ซึ่งสำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า
ศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

แผน  ข
๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขาจากสถาบันในประเทศ หรือต่างประเทศ ซึ่งสำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓. มีประสบการณ์การทำงานในสาขาที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๑ ปีโดยนับถึงวันรายงานตัวเข้าศึกษา
๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า
ศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก 18            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- นักวิชาการวัฒนธรรม นักวิจัยสังคมวัฒนธรรม
- นักพัฒนาสังคม พัฒนาการ พัฒนาชุมชน นักพัฒนาในองค์กรพัฒนาเอกชน
- เจ้าหน้าที่บุคคล เจ้าหน้าที่พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายประสานงานความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศไทย-อินเดีย
- วิทยากรผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านวัฒนธรรมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรืองานที่ต้องอาศัยความเข้าใจ กลุ่มคนในสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
วภวธ๕๐๐ : ฮินดีขั้นพื้นฐาน 3
วภวธ๕๐๑ : ฮินดีระดับกลาง 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วภวธ๕๑๐ : แนวคิดหลักทางวัฒนธรรมศึกษา 3
วภวธ๕๑๑ : มานุษยวิทยาสังคมวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๑๒ : วิธีวิทยามานุษยวิทยาสังคมวัฒนธรรม ๑ 3
วภวธ๕๑๓ : สัมมนาประเด็นทางสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัย 3
วภวธ๕๑๔ : ฝึกปฏิบัติ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   กลุ่มวิชาพิพิธภัณฑ์ศึกษาและมรดกวัฒนธรรม
วภวธ๕๔๐ : หลักการและแนวคิดพิพิธภัณฑสถาน 3
วภวธ๕๔๑ : การจัดการและการอนุรักษ์วัตถุพิพิธภัณฑ์ 3
วภวธ๕๔๒ : การสื่อสาร การศึกษา และกิจกรรมในพิพิธภัณฑสถาน 3
วภวธ๕๔๓ : การวางแผนและการออกแบบในพิพิธภัณฑสถาน 3
วภวธ๕๔๔ : มรดกวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๔๕ : ภูมิทัศน์วัฒนธรรม 3
   กลุ่มวิชาสังคมและวัฒนธรรมศึกษา
วภวธ๕๕๐ : ชาติพันธุ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๕๑ : เพศสภาพ เพศวิถี และอัตลักษณ์ทางเพศ 3
วภวธ๕๕๒ : วัฒนธรรมข้ามแดนและโลกาภิวัตน์ 3
วภวธ๕๕๓ : วัฒนธรรมสมัยนิยม 3
วภวธ๕๕๔ : วัฒนธรรม เศรษฐศาสตร์การเมือง และการกำหนดนโยบาย 3
วภวธ๕๕๕ : วัฒนธรรมชายขอบ 3
วภวธ๕๕๖ : ความรู้ท้องถิ่น ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 3
วภวธ๕๕๗ : ระบบความเชื่อและพิธีกรรม 3
   กลุ่มวิชาเลือกทั่วไป
วภวธ๖๐๐ : การศึกษาอิสระ ๑ 3
วภวธ๖๐๑ : การศึกษาอิสระ ๒ 3
   กลุ่มวิชามานุษยวิทยาการแพทย์
วภวธ๕๒๐ : มานุษยวิทยาการแพทย์ 3
วภวธ๕๒๑ : ธุรกิจสุขภาพ 3
วภวธ๕๒๒ : มานุษยวิทยาโภชนาการ 3
วภวธ๕๒๓ : สุขภาพกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๒๔ : สุขภาพกับกลุ่มชาติพันธุ์ 3
วภวธ๕๒๕ : การสื่อสารในงานสาธารณสุข 3
   กลุ่มวิชามานุษยวิทยาการดนตรี
วภวธ๕๓๐ : แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาการดนตรี 3
วภวธ๕๓๑ : ปรัชญาและสุนทรียศาสตร์ของดนตรี 3
วภวธ๕๓๒ : ดนตรีในเอเชียอาคเนย์ 3
วภวธ๕๓๓ : ดนตรีไทย 3
วภวธ๕๓๔ : ดนตรีกับการแสดง 3
วภวธ๕๓๕ : ดนตรีวิเคราะห์ 3
วภวธ๕๓๖ : ดนตรีร่วมสมัย 3
   กลุ่มวิชาอินเดียศึกษา
วภวธ๕๖๐ : ฮินดีเพื่อการสื่อสาร 3
วภวธ๕๖๑ : วรรณคดีและคติชนวิทยาอินเดีย 3
วภวธ๕๖๒ : ภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ในอินเดีย 3
วภวธ๕๖๓ : ศิลปะและสถาปัตยกรรมอินเดีย 3
วภวธ๕๖๔ : อินเดียและเอเชีย: มรดกร่วมทางวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๖๕ : วัฒนธรรมและศาสนาในอินเดีย 3
วภวธ๕๖๖ : เศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนของอินเดีย 3
วภวธ๕๖๗ : อินเดียปัจจุบันและสังคมอินเดีย 3
วภวธ๕๖๘ : โยคะ สุขภาพ อายุรเวช 3
   กลุ่มวิชาการพัฒนาชนบทศึกษา
วภวธ๕๗๐ : แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาชนบท 3
วภวธ๕๗๑ : การจัดการและการวางแผนเพื่อพัฒนาชนบท 3
วภวธ๕๗๒ : การพัฒนาที่ยั่งยืน 3
วภวธ๕๗๓ : การพัฒนามนุษย์ 3
วภวธ๕๗๔ : หลักภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา 3
วภวธ๕๗๕ : การศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาชนบทในอาเชียน 3
วภวธ๕๘๑ : วิธีวิทยามานุษยวิทยาสังคมวัฒนธรรม ๒ 3
วภวธ๕๘๒ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยฐานชุมชน 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วภวธ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
วภวธ๕๐๐ : ฮินดีขั้นพื้นฐาน 3
วภวธ๕๐๑ : ฮินดีระดับกลาง 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วภวธ๕๑๐ : แนวคิดหลักทางวัฒนธรรมศึกษา 3
วภวธ๕๑๑ : มานุษยวิทยาสังคมวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๑๒ : วิธีวิทยามานุษยวิทยาสังคมวัฒนธรรม ๑ 3
วภวธ๕๑๓ : สัมมนาประเด็นทางสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัย 3
วภวธ๕๑๔ : ฝึกปฏิบัติ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   กลุ่มวิชาพิพิธภัณฑ์ศึกษาและมรดกวัฒนธรรม
วภวธ๕๔๐ : หลักการและแนวคิดพิพิธภัณฑสถาน 3
วภวธ๕๔๑ : การจัดการและการอนุรักษ์วัตถุพิพิธภัณฑ์ 3
วภวธ๕๔๒ : การสื่อสาร การศึกษา และกิจกรรมในพิพิธภัณฑสถาน 3
วภวธ๕๔๓ : การวางแผนและการออกแบบในพิพิธภัณฑสถาน 3
วภวธ๕๔๔ : มรดกวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๔๕ : ภูมิทัศน์วัฒนธรรม 3
   กลุ่มวิชาสังคมและวัฒนธรรมศึกษา
วภวธ๕๕๐ : ชาติพันธุ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๕๑ : เพศสภาพ เพศวิถี และอัตลักษณ์ทางเพศ 3
วภวธ๕๕๒ : วัฒนธรรมข้ามแดนและโลกาภิวัตน์ 3
วภวธ๕๕๓ : วัฒนธรรมสมัยนิยม 3
วภวธ๕๕๔ : วัฒนธรรม เศรษฐศาสตร์การเมือง และการกำหนดนโยบาย 3
วภวธ๕๕๕ : วัฒนธรรมชายขอบ 3
วภวธ๕๕๖ : ความรู้ท้องถิ่น ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 3
วภวธ๕๕๗ : ระบบความเชื่อและพิธีกรรม 3
   กลุ่มวิชาเลือกทั่วไป
วภวธ๖๐๐ : การศึกษาอิสระ ๑ 3
วภวธ๖๐๑ : การศึกษาอิสระ ๒ 3
   กลุ่มวิชามานุษยวิทยาการแพทย์
วภวธ๕๒๐ : มานุษยวิทยาการแพทย์ 3
วภวธ๕๒๑ : ธุรกิจสุขภาพ 3
วภวธ๕๒๒ : มานุษยวิทยาโภชนาการ 3
วภวธ๕๒๓ : สุขภาพกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๒๔ : สุขภาพกับกลุ่มชาติพันธุ์ 3
วภวธ๕๒๕ : การสื่อสารในงานสาธารณสุข 3
   กลุ่มวิชามานุษยวิทยาการดนตรี
วภวธ๕๓๐ : แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาการดนตรี 3
วภวธ๕๓๑ : ปรัชญาและสุนทรียศาสตร์ของดนตรี 3
วภวธ๕๓๒ : ดนตรีในเอเชียอาคเนย์ 3
วภวธ๕๓๓ : ดนตรีไทย 3
วภวธ๕๓๔ : ดนตรีกับการแสดง 3
วภวธ๕๓๕ : ดนตรีวิเคราะห์ 3
วภวธ๕๓๖ : ดนตรีร่วมสมัย 3
   กลุ่มวิชาอินเดียศึกษา
วภวธ๕๖๐ : ฮินดีเพื่อการสื่อสาร 3
วภวธ๕๖๑ : วรรณคดีและคติชนวิทยาอินเดีย 3
วภวธ๕๖๒ : ภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ในอินเดีย 3
วภวธ๕๖๓ : ศิลปะและสถาปัตยกรรมอินเดีย 3
วภวธ๕๖๔ : อินเดียและเอเชีย: มรดกร่วมทางวัฒนธรรม 3
วภวธ๕๖๕ : วัฒนธรรมและศาสนาในอินเดีย 3
วภวธ๕๖๖ : เศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนของอินเดีย 3
วภวธ๕๖๗ : อินเดียปัจจุบันและสังคมอินเดีย 3
วภวธ๕๖๘ : โยคะ สุขภาพ อายุรเวช 3
   กลุ่มวิชาการพัฒนาชนบทศึกษา
วภวธ๕๗๐ : แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาชนบท 3
วภวธ๕๗๑ : การจัดการและการวางแผนเพื่อพัฒนาชนบท 3
วภวธ๕๗๒ : การพัฒนาที่ยั่งยืน 3
วภวธ๕๗๓ : การพัฒนามนุษย์ 3
วภวธ๕๗๔ : หลักภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา 3
วภวธ๕๗๕ : การศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาชนบทในอาเชียน 3
วภวธ๕๘๑ : วิธีวิทยามานุษยวิทยาสังคมวัฒนธรรม ๒ 3
วภวธ๕๘๒ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยฐานชุมชน 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
วภวธ๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6

อาจารย์ประจำหลักสูตร