เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   29   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์ 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน โครงการร่วม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สถาบันโภชนาการ
เว็บไซต์ http://www.inmu.mahidol.ac.th/th/academics/curriculum/index.php
http://med.mahidol.ac.th/nutrition

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(โภชนศาสตร์)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (biological science)
จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาให้การรับรองทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๒. สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือเทียบเท่า จากสถาบัน
อุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาให้การรับรองทั้งในประเทศและต่างประเทศโดยมี
ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐
๓. สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาโทสาขาวิชาโภชนศาสตร์ โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดีและสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล  ซึ่งมีความประสงค์จะเปลี่ยน
สถานภาพเป็นนักศึกษาปริญญาเอก สามารถดำเนินการได้ โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม
ไม่ต่ำกว่า ๓.๒๕ ศึกษามาแล้วไม่ต่ำกว่า ๑ ปี และสอบผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถทาง
ภาษาต่างประเทศตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัยระดับปริญญาเอก ทั้งนี้ต้องได้รับอนุมัติจาก
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
๔.ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก
เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 24            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 7            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขาอื่นๆ
หมวดวิชาบังคับ 16            หน่วยกิต
หมดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาโภชนศาสตร์
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
รมภศ๖๐๑ : วิทยาศาสตร์โภชนาการ 4
รมภศ๖๐๓ : ชีวสถิติทางโภชนาการ 2
รมภศ๖๐๔ : การสื่อสารโภชนาการ 2
รมภศ๖๐๘ : การประเมินทางโภชนาการ 4
รมภศ๖๐๙ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางโภชนาการ 3
รมภศ๖๑๑ : การศึกษาโดยใช้ปัญหาทางโภชนาการเป็นฐาน 2
รมภศ๖๑๒ : การอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 1
สภภศ๖๐๕ : วิทยาศาสตร์โภชนาการขั้นสูง 4
สภภศ๖๐๖ : สัมมนาพิเศษทางโภชนาการ 2
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี/ผู้สำเร็จปริญญาโทสาขาอื่น
สภภศ๖๐๖ : สัมมนาพิเศษทางโภชนาการ 2
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาโภชนศาสตร์
สภภศ๖๐๕ : วิทยาศาสตร์โภชนาการขั้นสูง 4
สภภศ๖๐๖ : สัมมนาพิเศษทางโภชนาการ 2
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท สาขาอื่น ๆ
รมภศ๖๐๑ : วิทยาศาสตร์โภชนาการ 4
รมภศ๖๐๘ : การประเมินทางโภชนาการ 4
รมภศ๖๑๑ : การศึกษาโดยใช้ปัญหาทางโภชนาการเป็นฐาน 2
สภภศ๖๐๕ : วิทยาศาสตร์โภชนาการขั้นสูง 4
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สภภศ๖๐๘ : พิษวิทยาทางโภชนวิทยาขั้นสูง 2
สภภศ๖๐๙ : โภชนาการเชิงการทดลอง 2
สภภศ๖๑๑ : โภชนศาสตร์กับสถานการณ์ปัจจุบันทางพิษวิทยา 2
สภภศ๖๒๒ : โภชนาการคลินิกขั้นสูง 3
สภภศ๖๒๕ : โภชนาการชุมชนขั้นสูง 3
สภภศ๖๒๖ : โปรตีนและกรดอะมิโนขั้นสูง 3
สภภศ๖๓๑ : โภชนาการทางคาร์โบไฮเดรตและไขมันขั้นสูง 3
สภภศ๖๓๒ : โภชนาการขั้นสูงในวิตามินและเกลือแร่ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สภภศ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
สภภศ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48

อาจารย์ประจำหลักสูตร