เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   25   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
เว็บไซต์ http://www.tm.mahidol.ac.th/bstm/programs.html

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(อายุรศาสตร์เขตร้อน)

วิชาเอก

  • วิชาเอกอายุรศาสตร์เขตร้อนคลินิก
  • วิชาเอกเภสัชวิทยาคลินิก
  • วิชาเอกวิทยาการระบาด
  • วิชาเอกจุลชีววิทยา
  • วิชาเอกวิทยาภูมิคุ้มกัน
  • วิชาเอกโภชนศาสตร์ทางชีวเคมี
  • วิชาเอกพยาธิวิทยาเขตร้อน
  • วิชาเอกเวชศาสตร์สังคม
  • วิชาเอกสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา
  • วิชาเอกปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาการแพทย์
  • วิชาเอกอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล
  • วิชาเอกเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม
  • คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

    ๑. ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา  แบบ ๑ 
    ๑.๑ สำเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน หรือ ปริญญา
    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับโรคเขตร้อน โดยมีแต้มเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า ๓.๕ 
    หรือ
    ๑.๒ มีประสบการณ์ในการทำวิจัยด้านเวชศาสตร์เขตร้อน โดยมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ
    ที่เขื่อถือได้ในวงวิชาชีพอย่างน้อย ๒ เรื่อง โดยเป็นผู้นิพนธ์หลักหรือชื่อแรก  ๑ เรื่อง และเป็นผู้นิพนธ์
    ร่วม ๑ เรื่อง ทั้งนี้ผลงานตีพิมพ์ดังกล่าวต้องไม่ใช่ผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับ
    ปริญญาโท  
    ๑.๓ ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างไปจากที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัด
    เลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
    ๒. ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา   สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
    ๒.๑ สำเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน หรือ ปริญญา
    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับโรคเขตร้อน โดยมีแต้มเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า ๓.๕ 
    หรือ
    ๒.๒ สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เภสัช
    ศาสตรบัณฑิต ที่มีประสบการณ์งานวิจัยทางเวชศาสตร์เขตร้อน หรือ
    ๒.๓ ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างไปจากที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัด
    เลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
    ๓. ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
    ๓.๑ สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับปริญญา
    ตรี หรือเทียบเท่า  โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับไม่ต่ำกว่าเกียรตินิยมอันดับ ๒ หรือเทียบเท่า
    ๓.๒ กำลังศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตร์
    เขตร้อน และเรียนรายวิชาบังคับ ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕ ภายในสอง
    ภาคการศึกษาปกติ และได้รับการเสนอชื่อจากภาควิชาที่นักศึกษากำลังทำวิทยานิพนธ์ 
    ๓.๓ ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างไปจากที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัด
    เลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

    โครงสร้างหลักสูตร

    แบบ ๑
    สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
    วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
    แบบ ๒
    สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
    หมวดวิชาบังคับ 8            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
    สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
    หมวดวิชาแกน 8            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 12            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 10            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต

    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


    - ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์เขตร้อน
    - นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการสาธารณสุข นักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ที่มีทักษะ และศักยภาพสูงทางโรคเขตร้อน ในสถาบันวิชาการ/องค์กรภาครัฐและเอกชน ทั้งในและ ต่างประเทศ

    รายวิชาในหลักสูตร

    แบบ 1

    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
       สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
    วขสว๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

    แบบ 2

    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
       สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
    วขสว๕๓๔ : เซลล์และชีววิทยาระดับโมเลกุลของโรคเขตร้อน 2
    วขสว๕๓๖ : โฮสต์และลักษณะด้านสิ่งแวดล้อมของโรคเขตร้อน 2
    วขสว๕๔๕ : เชื้อก่อโรคและพาหะของโรคเขตร้อน 3
    วขสว๕๔๘ : แนวคิดด้านวิทยาการระบาดทางเวชศาสตร์เขตร้อน 1
    วขสว๖๐๖ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางเวชศาสตร์เขตร้อน 2
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
    วขสว๕๑๓ : ชีวสถิติ 2
    วขสว๕๔๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย 2
    วขสว๖๐๓ : โรคในเขตร้อนที่ติดต่อทางอาหารและน้ำ 3
    วขสว๖๐๔ : โรคในเขตร้อนที่ติดต่อทางเลือดและพาหะ 3
    วขสว๖๐๕ : สัมมนาเวชชีวศาสตร์เขตร้อน 2
       สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
    วขสว๖๐๓ : โรคในเขตร้อนที่ติดต่อทางอาหารและน้ำ 3
    วขสว๖๐๔ : โรคในเขตร้อนที่ติดต่อทางเลือดและพาหะ 3
    วขสว๖๐๕ : สัมมนาเวชชีวศาสตร์เขตร้อน 2
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
       สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
    วขกข๕๑๓ : กีฏวิทยาการแพทย์ 2
    วขจอ๕๑๐ : จุลชีววิทยาทางการแพทย์ 2
    วขจอ๕๑๑ : วิทยาภูมิคุ้มกัน ๑ 2
    วขจอ๕๑๒ : วิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ 2
    วขจอ๕๑๓ : จุลชีววิทยาขั้นสูง 2
    วขจอ๕๑๕ : จุลชีววิทยาภาคปฏิบัติ 2
    วขจอ๕๑๖ : วิทยาภูมิคุ้มกันภาคปฏิบัติ 2
    วขชพ๕๐๑ : ชีววิทยาระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์ 2
    วขชพ๕๐๒ : ชีววิทยาระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์ของโรคเขตร้อนขั้นสูง 2
    วขชพ๕๐๓ : ชีวสารสนเทศสำหรับชีววิทยาระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์โรคเขตร้อน 2
    วขชพ๕๐๔ : เทคนิคชีววิทยาระดับโมเลกุลทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคเขตร้อนและพันธุศาสตร์ 2
    วขปน๕๐๕ : วิทยาหนอนพยาธิการแพทย์ 2
    วขพข๕๐๒ : จุลกายวิภาคศาสตร์ 2
    วขพข๕๐๓ : สรีรวิทยา 2
    วขพข๕๐๔ : พยาธิวิทยา 2
    วขพข๕๐๕ : พยาธิวิทยาโรคเขตร้อน 2
    วขพป๕๐๓ : โปรโตซัววิทยาการแพทย์ 2
    วขภข๕๐๖ : โภชนศาสตร์ 2
    วขภข๕๑๐ : ชีวเคมี 2
    วขภข๕๑๖ : ปฏิบัติการโภชนศาสตร์ 2
    วขภข๕๑๗ : ชีวเคมีและโภชนศาสตร์ขั้นสูง 2
    วขวส๕๐๑ : ระเบียบวิธีวิทยาการวิจัยทางสังคมศาสตร์ 2
    วขวส๕๐๒ : สังคมศาสตร์ประยุกต์ทางเวชศาสตร์เขตร้อน 2
    วขวส๕๐๓ : วิทยาการระบาดทางสังคม 2
    วขวส๕๐๔ : ปัญหาปัจจุบันทางสังคมศาสตร์การแพทย์ 2
    วขวส๕๐๘ : วิทยาการระบาดสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๕๒๓ : การประเมินผลกระทบสุขภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๕๒๔ : หลักการทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา 2
    วขวส๕๒๕ : การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ 2
    วขวส๕๒๙ : หลักการทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๕๓๐ : วิธีการศึกษาด้านเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๕๓๑ : เทคโนโลยีชีวภาพประยุกต์ 2
    วขวส๕๓๓ : เทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูงเพื่อพัฒนาชีวภัณฑ์และควบคุมโรคเขตร้อน 2
    วขสข๕๒๐ : วิทยาการระบาดขั้นสูง 2
    วขสข๕๒๑ : ชีวสถิติขั้นกลาง 2
    วขสข๕๒๒ : การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงทางวิทยาการระบาด 2
    วขสว๕๑๖ : ปรสิตวิทยาภาคปฏิบัติ 2
    วขอข๕๑๐ : โรคที่เกิดจากปรสิต 2
    วขอข๕๑๑ : โรคที่ไม่ได้เกิดจากปรสิต 2
    วขอข๕๑๒ : วิธีปฏิบัติการทางคลินิกเพื่อการวิจัย 2
    วขอข๕๑๓ : หลักการวิจัยทางคลินิก 2
    วขอข๕๑๔ : เภสัชวิทยาเขตร้อนคลินิก 2
    วขอข๕๑๕ : เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก ๑ 2
    วขอข๕๑๖ : เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก ๒ 2
    วขอข๕๑๗ : การประเมินผลการวิจัยทางเภสัชวิทยาคลินิก 2
    วขอข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนคลินิก 2
       หมวดหัวข้อพิเศษ
    วขกข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางกีฏวิทยาการแพทย์ 2
    วขจอ๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 2
    วขจอ๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางชีววิทยาระดับโมเลกุลของการติดเชื้อ/โรคเขตร้อน 2
    วขจอ๖๐๓ : หัวข้อพิเศษทางปรสิตวิทยาภูมิคุ้มกัน 2
    วขชพ๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล ๑ 2
    วขชพ๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล ๒ 2
    วขปน๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางวิทยาหนอนพยาธิ 2
    วขพข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิวิทยา 2
    วขพป๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิโปรโตซัววิทยาการแพทย์ 2
    วขภข๖๐๓ : หัวข้อพิเศษทางวิทยาการระบาดโภชนาการ 2
    วขภข๖๐๕ : หัวข้อพิเศษทางโภชนาการชีวเคมี 2
    วขมข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางโรคเด็กในเขตร้อน 2
    วขวส๖๐๔ : การเตรียมโครงร่างการวิจัย 2
    วขวส๖๐๕ : หัวข้อพิเศษทางระบาดวิทยาสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๖๐๗ : การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยาขั้นสูง 2
    วขวส๖๐๘ : สัมมนาด้านสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา 2
    วขวส๖๐๙ : ปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๖๑๐ : สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๖๑๑ : หัวข้อพิเศษทางเวชศาสตร์สังคม 2
    วขสข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางระบาดวิทยาและการควบคุมโรคติดต่อ 2
    วขสข๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางสุขวิทยาเขตร้อน 2
    วขสว๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางโลหิตวิทยา 2
    วขสว๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาการแพทย์ 2
    วขอข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนคลินิก 2
       สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
    วขกข๕๑๓ : กีฏวิทยาการแพทย์ 2
    วขจอ๕๑๐ : จุลชีววิทยาทางการแพทย์ 2
    วขจอ๕๑๑ : วิทยาภูมิคุ้มกัน ๑ 2
    วขจอ๕๑๒ : วิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ 2
    วขจอ๕๑๓ : จุลชีววิทยาขั้นสูง 2
    วขจอ๕๑๕ : จุลชีววิทยาภาคปฏิบัติ 2
    วขจอ๕๑๖ : วิทยาภูมิคุ้มกันภาคปฏิบัติ 2
    วขชพ๕๐๑ : ชีววิทยาระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์ 2
    วขชพ๕๐๒ : ชีววิทยาระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์ของโรคเขตร้อนขั้นสูง 2
    วขชพ๕๐๓ : ชีวสารสนเทศสำหรับชีววิทยาระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์โรคเขตร้อน 2
    วขชพ๕๐๔ : เทคนิคชีววิทยาระดับโมเลกุลทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคเขตร้อนและพันธุศาสตร์ 2
    วขปน๕๐๕ : วิทยาหนอนพยาธิการแพทย์ 2
    วขพข๕๐๒ : จุลกายวิภาคศาสตร์ 2
    วขพข๕๐๓ : สรีรวิทยา 2
    วขพข๕๐๔ : พยาธิวิทยา 2
    วขพข๕๐๕ : พยาธิวิทยาโรคเขตร้อน 2
    วขพป๕๐๓ : โปรโตซัววิทยาการแพทย์ 2
    วขภข๕๐๖ : โภชนศาสตร์ 2
    วขภข๕๑๐ : ชีวเคมี 2
    วขภข๕๑๖ : ปฏิบัติการโภชนศาสตร์ 2
    วขภข๕๑๗ : ชีวเคมีและโภชนศาสตร์ขั้นสูง 2
    วขวส๕๐๑ : ระเบียบวิธีวิทยาการวิจัยทางสังคมศาสตร์ 2
    วขวส๕๐๒ : สังคมศาสตร์ประยุกต์ทางเวชศาสตร์เขตร้อน 2
    วขวส๕๐๓ : วิทยาการระบาดทางสังคม 2
    วขวส๕๐๔ : ปัญหาปัจจุบันทางสังคมศาสตร์การแพทย์ 2
    วขวส๕๐๘ : วิทยาการระบาดสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๕๒๓ : การประเมินผลกระทบสุขภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๕๒๔ : หลักการทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา 2
    วขวส๕๒๕ : การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ 2
    วขวส๕๒๙ : หลักการทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๕๓๐ : วิธีการศึกษาด้านเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๕๓๑ : เทคโนโลยีชีวภาพประยุกต์ 2
    วขวส๕๓๓ : เทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูงเพื่อพัฒนาชีวภัณฑ์และควบคุมโรคเขตร้อน 2
    วขสข๕๒๐ : วิทยาการระบาดขั้นสูง 2
    วขสข๕๒๑ : ชีวสถิติขั้นกลาง 2
    วขสข๕๒๒ : การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงทางวิทยาการระบาด 2
    วขสว๕๑๖ : ปรสิตวิทยาภาคปฏิบัติ 2
    วขอข๕๑๐ : โรคที่เกิดจากปรสิต 2
    วขอข๕๑๑ : โรคที่ไม่ได้เกิดจากปรสิต 2
    วขอข๕๑๒ : วิธีปฏิบัติการทางคลินิกเพื่อการวิจัย 2
    วขอข๕๑๓ : หลักการวิจัยทางคลินิก 2
    วขอข๕๑๔ : เภสัชวิทยาเขตร้อนคลินิก 2
    วขอข๕๑๕ : เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก ๑ 2
    วขอข๕๑๖ : เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก ๒ 2
    วขอข๕๑๗ : การประเมินผลการวิจัยทางเภสัชวิทยาคลินิก 2
       หมวดหัวข้อพิเศษ
    วขกข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางกีฏวิทยาการแพทย์ 2
    วขจอ๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 2
    วขจอ๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางชีววิทยาระดับโมเลกุลของการติดเชื้อ/โรคเขตร้อน 2
    วขจอ๖๐๓ : หัวข้อพิเศษทางปรสิตวิทยาภูมิคุ้มกัน 2
    วขชพ๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล ๑ 2
    วขชพ๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล ๒ 2
    วขพข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิวิทยา 2
    วขพป๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิโปรโตซัววิทยาการแพทย์ 2
    วขภข๖๐๓ : หัวข้อพิเศษทางวิทยาการระบาดโภชนาการ 2
    วขภข๖๐๕ : หัวข้อพิเศษทางโภชนาการชีวเคมี 2
    วขมข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางโรคเด็กในเขตร้อน 2
    วขวส๖๐๔ : การเตรียมโครงร่างการวิจัย 2
    วขวส๖๐๕ : หัวข้อพิเศษทางระบาดวิทยาสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๖๐๗ : การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยาขั้นสูง 2
    วขวส๖๐๘ : สัมมนาด้านสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา 2
    วขวส๖๐๙ : ปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๖๑๐ : สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม 2
    วขวส๖๑๑ : หัวข้อพิเศษทางเวชศาสตร์สังคม 2
    วขสข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางระบาดวิทยาและการควบคุมโรคติดต่อ 2
    วขสข๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางสุขวิทยาเขตร้อน 2
    วขสว๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางโลหิตวิทยา 2
    วขสว๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาการแพทย์ 2
    วขอข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนคลินิก 2
    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
       สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
    วขสว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
       สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
    วขสว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

    อาจารย์ประจำหลักสูตร