เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีบูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะวิศวกรรมศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.eg.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมเคมีบูรณาการ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หรือวิทยาศาสตรบัณฑิตในสาขาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษา
ที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้  อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจ
ของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 14            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 38            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- วิศวกรเคมีและวิศวกรกระบวนการ วิศวกรสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย วิศวกรที่ปรึกษาโรงงาน หรือวิศวกรในสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถออกแบบ และควบคุมระบบในกระบวนการผลิตต่างๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม
- นักวิจัยและนักวิชาการหลากหลายสาขา เช่น ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี เวชภัณฑ์ เคมีชีวภาพ และอาหาร เป็นต้น

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
วศคม๕๐๑ : กระบวนการนำพา 3
วศคม๕๐๒ : จลนศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ 3
วศคม๕๐๓ : หลักการและการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๕๐๔ : เคมีอาหารและชีวเคมี 3
วศคม๕๐๕ : จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม 3
วศคม๕๐๘ : อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วศคม๕๑๓ : ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรทางวิศวกรรม 3
วศคม๕๑๔ : เทคโนโลยีกระบวนการนำพาขั้นสูง 3
วศคม๖๐๑ : เทคนิคการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๐๒ : กระบวนการทางสถิติและการออกแบบการทดลอง 3
วศคม๖๙๖ : การศึกษาดูงานทางวิศวกรรมเคมี 1
วศคม๗๕๘ : สัมมนาทางวิศวกรรมเคมีบูรณาการ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วศคม๕๑๕ : การจำลองและควบคุมกระบวนการทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3
วศคม๕๑๖ : ระบบพลังงานและความยั่งยืน 3
วศคม๕๑๗ : ความเป็นเลิศเชิงปฏิบัติการทางอุตสาหกรรมเคมี 3
วศคม๕๑๘ : เทคโนโลยีการบำบัดขั้นสูงสำหรับน้ำ น้ำเสีย และนำกลับมาใช้ใหม่ 3
วศคม๕๑๙ : การนำส่งและพัฒนายา 3
วศคม๕๒๐ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์และสูตรเครื่องสำอาง 3
วศคม๕๒๑ : การกัดกร่อนทางอุตสาหกรรมเคมี อาหาร และยา 3
วศคม๖๐๕ : กระบวนการแยกทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๐๗ : ปรากฏการณ์การนำพาขั้นสูง 3
วศคม๖๐๘ : อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3
วศคม๖๑๓ : เทคโนโลยีอุปกรณ์รับรู้ 3
วศคม๖๑๕ : จลนศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เคมีขั้นสูง 3
วศคม๖๒๐ : แบบจำลองและการจำลองทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๔๑ : การคำนวณเชิงตัวเลขทางวิศวกรรมกระบวนการอาหาร 3
วศคม๖๔๒ : เทคโนโลยีกระบวนการอาหารและเภสัชภัณฑ์ 3
วศคม๖๔๓ : คุณสมบัติอาหารและการประเมินคุณภาพ 3
วศคม๖๔๕ : วิศวกรรมกระบวนการที่ไม่ใช้ความร้อน 3
วศคม๖๔๙ : การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงกระบวนการชีวภาพ 3
วศคม๖๗๑ : การจัดการโครงการสำหรับวิศวกร 3
วศคม๖๗๔ : การออกแบบอุปกรณ์ เครื่องมือ และกระบวนการผลิตทางเภสัชกรรม 3
วศคม๖๘๐ : ทฤษฎีการหาค่าเหมาะสมที่สุดทางกระบวนการเคมี 3
วศคม๖๘๑ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๒ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๓ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๔ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๕ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๖ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๗ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๘ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๙ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วศคม๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรชัย บำรุงศรี   (ประธานหลักสูตร)
  2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภัทรพร โปสกนิษฐกุล
  3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีรวุฒิ ชัยวัฒน์
  4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐธีร์ อัครวัฒน์โฆษิต
  5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพย์รวี ทองธรรมชาติ
  6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาคร ราชหาด
  7. รองศาสตราจารย์ จุฬารัตน์ ศักดารณรงค์
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรนารถ จงเลิศจรรยา
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วนิดา คูอมรพัฒนะ
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรางคณา พรพุทธาพิทักษ์
  11. อาจารย์ สุวิน อภิชาติพัฒนศิริ
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิระ ศรีนิเวศน์
  13. รองศาสตราจารย์ อรรถพล ศรีฟ้า
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภูมิวัต ผดุงบุตร
  15. ศาสตราจารย์ มะลิ หุ่นสม