เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะสาธารณสุขศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.ph.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต

วิชาเอก

  • วิชาเอกโภชนาการสาธารณสุข
  • วิชาเอกบริหารสาธารณสุข
  • วิชาเอกปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา
  • วิชาเอกวิทยาการระบาด
  • วิชาเอกสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ
  • วิชาเอกสุขภาพประชากรโลก
  • วิชาเอกอนามัยครอบครัวและอนามัยการเจริญพันธุ์
  • จุดเด่นของหลักสูตร

    The Dr.P.H. program aims to equip graduates with the experience required to deal with the particular challenges of understanding and adapting scientific knowledge in order to achieve public health gains, as well as the analytical and practical skills required for leaders in public health.

    คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

    The applicants must have the following qualifications:		
    1. Hold a Master of Public Health, Master of Science (Public Health) or equivalent degree majoring in family and reproductive health, 
    infectious diseases, epidemiology, health education and health promotion, nutrition, public health administration, health sciences 
    or other related majors from academic institutes accredited by the Office of Higher Education Commission (OHEC)
    2. Have a minimum grade point average of 3.50
    3. Have an English Proficiency Examination score as the Requirement of Faculty of Graduate Studies 
    4. Have at least five years of work experience in public health or other related fields after completing a Bachelor degree program
    5. Those who do not meet the above qualification criteria, 2.2.1-2.2.4, may be accepted into the program based on the decision made 
    by the Program Chair and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

    โครงสร้างหลักสูตร

    แบบ ๒
    แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
    หมวดวิชาแกน 5            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 4            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
    รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต

    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

    1. Public health administrator/leader 
    2. Researcher in public health 
    3. Public health expert 
    4. Academic scholar

    รายวิชาในหลักสูตร

    แบบ 2

    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
    สศคร๖๘๓ : การฝึกภาคสนามด้านภาวะผู้นำสาธารณสุข 1
    สศคร๗๑๖ : งานวิจัยและนวัตกรรมสาธารณสุข 2
    สศคร๗๑๗ : การบริหารขั้นสูงสำหรับผู้ปฏิบัติงานของวิชาชีพสาธารณสุข 2
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
       วิชาเอกบริหารสาธารณสุข
    สศบส๗๐๖ : นโยบายสุขภาพและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2
    สศบส๗๐๗ : การวิจัยทางการบริหารสาธารณสุขขั้นสูง 2
       สาขาวิชาเอกโภชนาการสาธารณสุข
    สศภว๗๐๑ : หัวข้อขั้นสูงด้านโภชนาการ 2
    สศภว๗๐๒ : การวางแผนและการประเมินผลโครงการโภชนาการขั้นสูง 2
       สาขาวิชาเอกวิทยาการระบาด
    สศรบ๖๑๔ : สถิติวิธีทางวิทยาการระบาด ๒ 2
    สศรบ๖๑๘ : การออกแบบและการวิเคราะห์การศึกษาทางวิทยาการระบาด ๑ 2
       วิชาเอกสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ
    สศสษ๗๐๗ : วิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ขั้นสูง 2
    สศสษ๗๐๘ : การประยุกต์ทฤษฎีและหลักการทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ในการสร้างเสริมสุขภาพ 2
       วิชาเอกสุขภาพประชากรโลก
    สศคร๗๑๘ : สาระสำคัญของสุขภาพประชากรโลก 3
    สศคร๗๗๘ : สัมมนาทางการวิจัยและนวัตกรรมสุขภาพประชากรโลก 1
       วิชาเอกปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา
    สศปว๗๐๘ : การจัดการทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาสาธารณสุขระดับโมเลกุล 2
    สศปว๗๐๙ : ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาขั้นสูง 2
       วิชาเอกอนามัยครอบครัว
    สศอค๖๓๗ : สหวิทยาการเพื่อสุขภาพเด็กและวัยรุ่น 2
    สศอค๗๐๔ : อนามัยครอบครัวและอนามัยการเจริญพันธุ์ขั้นสูง 2
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
    สศคร๖๗๘ : การศึกษาพิเศษด้านสุขภาพประชากรโลก 2
    สศคร๗๑๕ : วิธีทางชีวสถิติและวิทยาการระบาดในงานสาธารณสุข 3
    สศคร๗๑๙ : แนวคิดปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ 3
    สศคร๗๒๐ : ความชราภาพและสุขภาพประชากรโลก 3
    สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ 3
    สศปว๖๒๘ : เทคนิคทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาขั้นสูง 2
    สศปว๗๑๐ : การออกแบบและการวิเคราะห์เพื่องานวิจัยทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา 2
    สศพส๗๓๔ : การวิจัยเชิงคุณภาพขั้นสูง 3
    สศภว๖๕๕ : การศึกษาพิเศษ 1
    สศภว๗๐๓ : การทบทวนเชิงวิพากษ์ของงานวิจัยทางโภชนาการสาธารณสุข 2
    สศรบ๖๐๔ : สถิติวิธีทางวิทยาการระบาด ๑ 2
    สศรบ๖๑๐ : วิทยาการระบาดเชิงสังคม 3
    สศรบ๖๑๒ : หัวข้อการวิจัยทางวิทยาการระบาด 3
    สศรบ๖๙๐ : ประสบการณ์การสอนทางวิทยาการระบาด 1
    สศสษ๗๐๙ : การศึกษาพิเศษทางการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ 3
    สศอค๖๓๙ : จิตวิทยาครอบครัวและสังคม 2
    สศอค๗๐๕ : ประเด็นปัจจุบันด้านอนามัยครอบครัวและอนามัยการเจริญพันธุ์: มุมมองในระดับภูมิภาค 2
    สศอค๗๐๖ : การประเมินผลโครงการด้านอนามัยครอบครัวและอนามัยการเจริญพันธุ์ 2
    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
    สศคร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
    สศคร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
    สศบส๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
    สศปว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
    สศภว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
    สศรบ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
    สศสษ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

    อาจารย์ประจำหลักสูตร