เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะสาธารณสุขศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.ph.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพในทุกระดับสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดและ วางแผนแก้ไขปัญหาสาธารณสุข มีสมรรถนะการพัฒนาระบบสุขภาพมีทักษะในการสื่อสารและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสุข รวมทั้งการทำงานวิจัยด้านสาธารณสุขได้

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สําเร็จปริญญาตรีทุกสาขา จากสถาบันอุดมศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
๒. ผลการศึกษาระดับปริญญาตรีต้องได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ หรือมีคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า
     ร้อยละ ๗๕
๓. มีประสบการณ์การทํางานด้านสุขภาพหรือสาขาที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า ๑ ปีนับถึงวันสมัคร
๔. มีคะแนนความรู้ภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำในการรับเข้าตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย
      มหิดล
๕. ผู้สมัครเข้าศึกษาซึ่งมีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับ
     การคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยตามดุลยพินิจของ
     ประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก ๒
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 24            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 39            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 27            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 39            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

สามารถปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน องค์กรระหว่างประเทศ และองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องกับ
สุขภาพ ดังต่อไปนี้	

- ผู้บริหารงานสาธารณสุข
- ผู้ปฏิบัติงานสาธารณสุข
- นักวิชาการและนักวิจัย ด้านสาธารณสุข
- งานอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สศคร๕๐๑ : สถานการณ์ด้านสุขภาพปัจจุบันและแนวโน้ม 3
สศชส๕๐๐ : ชีวสถิติวิเคราะห์ขั้นแนะนำ 3
สศอช๖๐๔ : การสาธารณสุขทั่วไป 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สศคร๖๐๔ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 3
สศคร๖๔๕ : นโยบายสุขภาพและการจัดการ 3
สศคร๖๖๙ : การพัฒนาทักษะด้านสาธารณสุขและภาวะผู้นำ 3
สศคร๗๐๑ : สัมมนาการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการสาธารณสุข 3
สศคร๗๐๔ : การวิจัยทางสาธารณสุข 3
สศชส๖๓๘ : ชีวสถิติพื้นฐาน 3
สศรบ๖๐๒ : หลักวิทยาการระบาด 3
สศสษ๖๐๒ : พฤติกรรมศาสตร์และสุขศึกษา 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สศคร๖๒๔ : เทคนิคการควบคุมโรคและสิ่งแวดล้อม 3
สศจว๖๐๒ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 3
สศชส๖๕๐ : เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 3
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ 3
สศบส๖๐๙ : เศรษฐศาสตร์และการคลังในงานอนามัยชุมชน 3
สศบส๖๔๕ : สาธารณสุขมูลฐาน 3
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ 3
สศบส๖๗๑ : ระบบสุขภาพและการพัฒนา 3
สศบส๖๗๓ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ : ทฤษฎีและทางเลือกนโยบาย 3
สศบส๖๗๘ : การจัดทำนโยบายสาธารณสุข ดำเนินการ และการประเมินผล 2
สศภว๖๐๐ : กลยุทธ์และวิธีการส่งเสริมโภชนาการ 3
สศภว๖๐๒ : โภชนาการสาธารณสุข 3
สศรบ๖๓๒ : วิธีการศึกษาทางวิทยาการระบาดและการสำรวจโรคในช่องปาก 3
สศรบ๖๓๔ : การศึกษาพิเศษการวิจัยสุขภาพในช่องปาก 3
สศวส๕๖๔ : แนะนำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และภาพถ่ายระยะไกล 3
สศสษ๖๓๖ : การพัฒนาสื่อในงานสาธารณสุข 3
สศอช๖๐๙ : การเตรียมพร้อมและการจัดการอุบัติภัย 3
สศอช๖๑๗ : สุขภาพประชากรและการพัฒนาบริการอนามัยชุมชน 3
สศอช๖๗๘ : สัมมนาปัญหาสาธารณสุขและบริการสุขภาพ 3
สศอส๖๕๙ : เทคโนโลยีอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ 3
สศอส๖๖๐ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ 3
สศอส๖๗๔ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สศคร๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สศคร๕๐๑ : สถานการณ์ด้านสุขภาพปัจจุบันและแนวโน้ม 3
สศชส๕๐๐ : ชีวสถิติวิเคราะห์ขั้นแนะนำ 3
สศอช๖๐๔ : การสาธารณสุขทั่วไป 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สศคร๖๐๔ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 3
สศคร๖๔๕ : นโยบายสุขภาพและการจัดการ 3
สศคร๖๖๙ : การพัฒนาทักษะด้านสาธารณสุขและภาวะผู้นำ 3
สศคร๗๐๑ : สัมมนาการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการสาธารณสุข 3
สศคร๗๐๓ : การฝึกปฏิบัติงานสาธารณสุข 3
สศคร๗๐๔ : การวิจัยทางสาธารณสุข 3
สศชส๖๓๘ : ชีวสถิติพื้นฐาน 3
สศรบ๖๐๒ : หลักวิทยาการระบาด 3
สศสษ๖๐๒ : พฤติกรรมศาสตร์และสุขศึกษา 3
สศอช๖๘๘ : ฝึกภาคสนาม 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สศคร๖๒๔ : เทคนิคการควบคุมโรคและสิ่งแวดล้อม 3
สศจว๖๐๒ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 3
สศชส๖๕๐ : เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 3
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ 3
สศบส๖๐๙ : เศรษฐศาสตร์และการคลังในงานอนามัยชุมชน 3
สศบส๖๔๕ : สาธารณสุขมูลฐาน 3
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ 3
สศบส๖๗๑ : ระบบสุขภาพและการพัฒนา 3
สศบส๖๗๓ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ : ทฤษฎีและทางเลือกนโยบาย 3
สศบส๖๗๘ : การจัดทำนโยบายสาธารณสุข ดำเนินการ และการประเมินผล 2
สศภว๖๐๐ : กลยุทธ์และวิธีการส่งเสริมโภชนาการ 3
สศภว๖๐๒ : โภชนาการสาธารณสุข 3
สศรบ๖๓๒ : วิธีการศึกษาทางวิทยาการระบาดและการสำรวจโรคในช่องปาก 3
สศรบ๖๓๔ : การศึกษาพิเศษการวิจัยสุขภาพในช่องปาก 3
สศวส๕๖๔ : แนะนำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และภาพถ่ายระยะไกล 3
สศสษ๖๓๖ : การพัฒนาสื่อในงานสาธารณสุข 3
สศอช๖๐๙ : การเตรียมพร้อมและการจัดการอุบัติภัย 3
สศอช๖๑๗ : สุขภาพประชากรและการพัฒนาบริการอนามัยชุมชน 3
สศอช๖๗๘ : สัมมนาปัญหาสาธารณสุขและบริการสุขภาพ 3
สศอส๖๕๙ : เทคโนโลยีอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ 3
สศอส๖๖๐ : การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ 3
สศอส๖๗๔ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
สศคร๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6

อาจารย์ประจำหลักสูตร