เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพุธที่   24   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะสาธารณสุขศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.ph.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต  ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต  สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต  
    เภสัชศาสตรบัณฑิต  วิทยาศาสตรบัณฑิต  พยาบาลศาสตรบัณฑิต  สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต  หรือ
    ปริญญาตรีสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง
๒. ผลการศึกษาระดับปริญญาตรีต้องได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐  หรือคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า
     ร้อยละ ๗๕        
๓. มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพหลังจบปริญญาตรีมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑ ปี 
     นับถึงวันสมัคร
๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น อาจให้สมัครเข้าศึกษาได้ตามดุลยพินิจของ คณะ
     กรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

รวมไม่น้อยกว่า 39            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาแกน 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 3            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้บริหารงานสาธารณสุข
- ผู้ปฏิบัติงานสาธารณสุข
- นักวิชาการและนักวิจัยด้านสาธารณสุข
- งานอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
: 0

แผน ข

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สศคร๕๐๑ : สถานการณ์ด้านสุขภาพปัจจุบันและแนวโน้ม 3
สศชส๕๐๐ : ชีวสถิติวิเคราะห์ขั้นแนะนำ 3
สศอช๖๐๔ : การสาธารณสุขทั่วไป 3
หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
สศชส๖๐๒ : ชีวสถิติ ข 3
สศบส๖๐๒ : การบริหารงานสาธารณสุข 3
สศรบ๖๐๒ : หลักวิทยาการระบาด 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สศคร๖๐๔ : อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 3
สศคร๖๖๘ : การพัฒนาทักษะด้านสาธารณสุข 3
สศคร๖๗๕ : ภาวะผู้นำและการพัฒนาระบบสุขภาพ 3
สศคร๖๙๓ : การศึกษาอิสระ 3
สศชส๖๓๐ : วิธีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3
สศสษ๖๐๒ : พฤติกรรมศาสตร์และสุขศึกษา 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
: 0
สคสษ๖๕๐ : สื่อและการชี้แนะสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 3
สศคร๖๐๒ : การประยุกต์ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์ในงานส่งเสริมสุขภาพ 3
สศคร๖๐๙ : กลยุทธ์และวิธีการส่งเสริมสุขภาพ 3
สศคร๖๒๔ : เทคนิคการควบคุมโรคและสิ่งแวดล้อม 3
สศคร๖๒๕ : การกำกับดูแลและการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 3
สศคร๖๔๗ : ภาพรวมอนามัยการเจริญพันธุ์: มุมมองในภูมิภาคอาเซียน 3
สศคร๖๗๗ : วัฒนธรรมและสุขภาพ 3
สศคร๖๗๙ : การศึกษาดูงานระบบสุขภาพเชิงเปรียบเทียบ 3
สศจว๖๐๒ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 3
สศชส๖๕๐ : เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 3
สศชส๖๕๑ : คอมพิวเตอร์ประยุกต์สำหรับงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3
สศบส๖๐๓ : การจัดการทางการเงินในโรงพยาบาล 3
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ 3
สศบส๖๐๙ : เศรษฐศาสตร์และการคลังในงานอนามัยชุมชน 3
สศบส๖๒๐ : หลักการบริหารโรงพยาบาล 3
สศบส๖๔๕ : สาธารณสุขมูลฐาน 3
สศบส๖๕๕ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพ 3
สศบส๖๗๑ : ระบบสุขภาพและการพัฒนา 3
สศบส๖๗๓ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพ : ทฤษฎีและทางเลือกนโยบาย 3
สศบส๖๗๗ : ประเด็นด้านกฎหมายและจริยธรรมสำหรับนักวิชาชีพสาธารณสุข 3
สศปว๖๑๔ : ชีวสารสนเทศศาสตร์พื้นฐาน 3
สศภว๖๐๐ : กลยุทธ์และวิธีการส่งเสริมโภชนาการ 3
สศภว๖๐๒ : โภชนาการสาธารณสุข 3
สศรบ๖๐๔ : วิธีการทางสถิติในงานวิทยาการระบาด ๑ 3
สศรบ๖๓๑ : ปัจจัยกำหนดโรคและการป้องกันโรคในช่องปาก 3
สศรบ๖๓๒ : วิธีการศึกษาทางวิทยาการระบาดและการสำรวจโรคในช่องปาก 3
สศรบ๖๓๓ : การวางแผนและประเมินผลโครงการทางทันตสุขภาพ 3
สศรบ๖๓๔ : การศึกษาพิเศษการวิจัยสุขภาพในช่องปาก 3
สศวส๕๖๔ : แนะนำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และภาพถ่ายระยะไกล 3
สศสษ๖๓๖ : การพัฒนาสื่อในงานสาธารณสุข 3
สศอค๖๑๔ : อนามัยวัยรุ่น 2
สศอค๖๑๖ : ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมต่ออนามัยการเจริญพันธุ์ 3
สศอช๖๐๘ : การจัดการบริการดูแลขั้นปฐมภูมิ 3
สศอช๖๑๓ : การเตรียมพร้อมและการจัดการอุบัติภัย 2
สศอช๖๑๗ : สุขภาพประชากรและการพัฒนาบริการอนามัยชุมชน 3
สศอช๖๗๘ : สัมมนาปัญหาสาธารณสุขและบริการสุขภาพ 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
สศคร๖๙๗ : สารนิพนธ์ 3

อาจารย์ประจำหลักสูตร