เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพุธที่   24   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(จุลชีววิทยา)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป  เช่น จุลชีววิทยา ชีววิทยา ชีวเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ เคมี อุตสาหกรรมอาหาร สัตวแพทย์ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ชีวภาพอื่น ๆ หรือเทียบเท่าโดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐
๒. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโท  สาขาวิชาจุลชีววิทยา ชีววิทยา ชีวเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เคมี อุตสาหกรรมอาหาร และวิทยาศาสตร์ชีวภาพอื่น ๆ หรือเทียบเท่าโดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐
๓. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้อ ๑-๒ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 19            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 5            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
นักศึกษาที่จบปริญญาโทสาขาจุลชีววิทยาหรือสาขาที่เกี่ยวข้องที่ผ่านการพิจารณาโดยกรรมการหลักสูตร           
หมวดวิชาบังคับ 7            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 5            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
นักศึกษาที่จบปริญญาโทต่างสาขาวิชา           
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- นักวิชาการขั้นสูงในสาขาที่เกี่ยวข้อง ในสถาบันการศึกษาหรือในหน่วยงานทางด้านวิทยาศาสตร์ต่างๆ ทั้งวิทยาศาสตร์การแพทย์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ในสถาบันอุดมศึกษา
- นักวิจัยขั้นสูง หรือ เป็นที่ปรึกษาทางวิชาการ ทางพันธุศาสตร์โมเลกุล จุลินทรีย์ และเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ ในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน
- ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ หรือ เป็นที่ปรึกษาทางวิชาการขั้นสูง ด้านผลิตภัณฑ์ (product specialist) ทางพันธุศาสตร์โมเลกุล จุลินทรีย์ และเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ของบริษัทเอกชน
- ประกอบอาชีพอิสระ

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
บฑคร๕๒๑ : จริยธรรมการวิจัย 1
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทจว๕๑๔ : ภูมิคุ้มกันวิทยา 1
วทจว๕๑๕ : วิทยาแบคทีเรียและวิทยาเชื้อรา 1
วทจว๕๑๖ : ไวรัสวิทยา 1
วทจว๕๑๗ : ปรสิตวิทยา 1
วทจว๖๐๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
วทจว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาขั้นสูง 3
วทจว๖๐๔ : วิทยาไวรัสขั้นสูง 3
วทจว๖๐๕ : พันธุศาสตร์ของจุลชีพ 3
วทจว๖๑๑ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยา 1
วทจว๖๑๒ : สัมมนาทางจุลชีววิทยา 1
วทจว๖๒๑ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยา ๒ 1
วทจว๖๒๒ : สัมมนาทางจุลชีววิทยา ๒ 1
วทจว๖๒๓ : สัมมนาสำหรับปริญญาเอก 1
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทจว๖๐๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
วทจว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาขั้นสูง 3
วทจว๖๐๔ : วิทยาไวรัสขั้นสูง 3
วทจว๖๐๕ : พันธุศาสตร์ของจุลชีพ 3
วทจว๖๒๓ : สัมมนาสำหรับปริญญาเอก 1
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาอื่น ๆ
วทจว๕๑๔ : ภูมิคุ้มกันวิทยา 1
วทจว๕๑๕ : วิทยาแบคทีเรียและวิทยาเชื้อรา 1
วทจว๕๑๖ : ไวรัสวิทยา 1
วทจว๕๑๗ : ปรสิตวิทยา 1
วทจว๖๐๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
วทจว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาขั้นสูง 3
วทจว๖๐๔ : วิทยาไวรัสขั้นสูง 3
วทจว๖๐๕ : พันธุศาสตร์ของจุลชีพ 3
วทจว๖๒๓ : สัมมนาสำหรับปริญญาเอก 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทจว๕๑๑ : จุลชีววิทยาระดับโมเลกุล 3
วทจว๕๑๒ : การวิเคราะห์ลำดับโมเลกุล 2
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
บฑคร๕๒๑ : จริยธรรมการวิจัย 1
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทจว๖๒๑ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยา ๒ 1
วทจว๖๒๒ : สัมมนาทางจุลชีววิทยา ๒ 1
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาอื่น ๆ
บฑคร๕๒๑ : จริยธรรมการวิจัย 1
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทจว๖๒๑ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยา ๒ 1
วทจว๖๒๒ : สัมมนาทางจุลชีววิทยา ๒ 1
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทจว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทจว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48

อาจารย์ประจำหลักสูตร