เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   29   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


 กำหนดการรับสมัคร:     รอบที่ 1 :     15 พฤศจิกายน 2561 - 31 มกราคม 2562

รหัสหลักสูตร 2401MS00

MASTER OF SCIENCE PROGRAM IN TECHNOLOGY OF ENVIRONMENTAL MANAGEMENT

หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม(ภาคพิเศษ)

วิชาเอก -
ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
เว็บไซต์ https://en.mahidol.ac.th
จำนวนที่คาดว่าจะได้รับตลอดปีการศึกษา จำนวน 25 คน

1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร

แผน ก แบบ ก ๒
๑) สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีทุกสาขาวิชา 
จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาให้การรับรอง
๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของ
ประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

แผน ข
๑) สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ทุกสาขาวิชา จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาให้การรับรอง
๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
๔) มีประสบการณ์การทำงานในสาขาวิชาด้านสิ่งแวดล้อม หรือสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๑ ปี
๕) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของ
ประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

2. เกณฑ์คะแนนภาษาอังกฤษของหลักสูตร

เกณฑ์ขั้นต่ำที่รับเข้าศึกษา

  IELTS ไม่ต่ำกว่า 3.0 หรือ
  TOEFL-IBT ไม่ต่ำกว่า 32 หรือ
  TOEFL-ITP ไม่ต่ำกว่า 400 หรือ
  MU GRAD TEST ไม่ต่ำกว่า 36  

เกณฑ์เพื่อสำเร็จการศึกษา

  IELTS ไม่ต่ำกว่า 5.0 หรือ
  TOEFL-IBT ไม่ต่ำกว่า 54 หรือ
  TOEFL-ITP ไม่ต่ำกว่า 480 หรือ
  MU GRAD TEST ไม่ต่ำกว่า 60  
บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดรับผลคะแนนการทดสอบ TOEFL-iBT หรือ IELTS ที่มาจากศูนย์สอบโดยตรงเท่านั้น ดังนั้นหากผู้สมัครมีผลคะแนนการทดสอบภาษาอังกฤษดังกล่าว ขอให้ติดต่อศูนย์สอบเพื่อส่งผลคะแนนมายังบัณฑิตวิทยาลัยโดยตรง ลงทะเบียนได้ที่ http://www.grad.mahidol.ac.th/form01/

3. วิธีการคัดเลือก

- พิจารณาจากเอกสารประกอบการสมัคร
- สอบข้อเขียนวิชาเฉพาะของหลักสูตร
- สอบสัมภาษณ์

4. กำหนดการสอบคัดเลือก

กำหนดการสอบข้อเขียน
วันเสาร์ 16 กุมภาพันธ์ 2562
เวลา: 9.00 - 12.00 น.
สถานที่: ประกาศสถานที่สอบข้อเขียน วันอังคาร 12 กุมภาพันธ์ 2562 ที่ www.grad.mahidol.ac.th
 
 มี  การสอบข้อเขียน โดยมีรายละเอียดดังนี้

- วิชาความถนัดด้านสิ่งแวดล้อม

กำหนดการสอบสัมภาษณ์
วันอังคาร 5 มีนาคม พ.ศ. 2562
สถานที่ (ห้อง /ชั้น /อาคาร/ คณะ/ วิทยาเขต) เวลา 13.00-16.00 น. ห้อง 1104 ชั้น 1 อาคาร 1 คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ศาลายา
หมายเหตุ กำหนดการสอบสัมภาษณ์ อาจมีการเปลี่ยนแปลง กรุณาตรวจสอบกำหนดการอย่างเป็นทางการอีกครั้ง ในวันประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์ วันพุธ 27 กุมภาพันธ์ 2562 ที่ www.grad.mahidol.ac.th

5. หลักฐานการสมัคร

ผู้สมัครต้องสแกนเอกสาร โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ หรืออุปกรณ์ที่รองรับการสแกนเอกสารเป็นไฟล์ PDF เท่านั้น (ยกเว้นเฉพาะรูปถ่ายให้เป็นไฟล์ JPEG)

1. หนังสือรับรองหรือผลคะแนนความรู้ภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษขั้นต่ำที่รับเข้าศึกษา (ผลสอบภาษาอังกฤษต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันที่สมัคร)

เงื่อนไขสำหรับผู้สมัครหลักสูตรนี้ :
ไม่มีผลคะแนนภาษาอังกฤษ / มีผลคะแนนไม่ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำที่รับเข้าศึกษา - สามารถสมัครได้


2. หลักฐานแสดงคุณวุฒิการศึกษา (ปริญญาบัตร หรือหนังสือรับรองจากสถาบันการศึกษาว่ากำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษาสุดท้าย หรืออยู่ระหว่างการทำวิทยานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์ โดยมีกำหนดที่จะสำเร็จการศึกษาภายในปีการศึกษา 2561)
3. หลักฐานแสดงผลการศึกษา (Transcript / Grade Report)
4. รูปถ่ายหน้าตรง ชุดสุภาพ ไม่สวมแว่นตาดำหรือหมวก และ ถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน
5. สำเนาบัตรประชาชน
6. หลักฐานประกอบการเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล (ถ้ามี)

ให้ผู้สมัคร Upload ไฟล์เอกสารหลักฐานต่างๆ ตามที่ระบุข้างต้น ทั้งนี้ผู้สมัครสามารถสมัครได้มากกว่า 1 หลักสูตรสาขาวิชา โดยต้องยื่นเอกสารหลักฐานประกอบการสมัครตามจำนวนหลักสูตรสาขาวิชาที่สมัคร

6. วิธีการรับสมัคร

สมัครผ่านระบบ Online Admission ที่ www.grad.mahidol.ac.th
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่ ขั้นตอนการสมัครเข้าศึกษา

7. โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สวทบ๖๐๐ : วิธีเชิงระบบเพื่อเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๐๑ : การประเมินสิ่งแวดล้อมเชิงบูรณาการ 2
สวทบ๖๐๒ : การบูรณาการนิเวศวิทยาและสังคมศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๐๓ : เทคโนโลยีการจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๐๔ : ระเบียบวิธีวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๐๕ : สัมมนาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม 1
สวทบ๖๐๖ : การสำรวจและการวิเคราะห์ระบบทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1
สวทบ๖๐๗ : การศึกษาภาคสนามการประเมินสิ่งแวดล้อม 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สวทบ๖๑๐ : การจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ 3
สวทบ๖๑๑ : การจัดการปริมาณและคุณภาพของน้ำ 3
สวทบ๖๑๒ : นิเวศวิทยาสัตว์ป่าและการจัดการ 3
สวทบ๖๑๓ : นิเวศวิทยามนุษย์ในการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 3
สวทบ๖๑๔ : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 3
สวทบ๖๑๕ : ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินและดินเสื่อมโทรม 3
สวทบ๖๑๖ : เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อมและการประยุกต์เพื่อการจัดการมลพิษ 3
สวทบ๖๑๗ : เทคโนโลยีการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมโดยชีวภาพและพืช 3
สวทบ๖๑๘ : เทคโนโลยีสีเขียวสำหรับสิ่งแวดล้อมและพลังงานที่ยั่งยืน 3
สวทบ๖๑๙ : เทคโนโลยีในการจัดการของเสียอุตสาหกรรมและของเสียอันตราย 3
สวทบ๖๒๐ : เทคโนโลยีชีวมวลและพลังงานชีวภาพ 3
สวทบ๖๒๑ : ของเสียและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3
สวทบ๖๒๒ : การประยุกต์สารลดแรงตึงผิวในงานทางสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๓ : นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๔ : เครื่องมือและเทคนิคในการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 3
สวทบ๖๒๕ : การประเมินทางสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๖ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3
สวทบ๖๒๗ : การมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๘ : การสื่อสารสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๙ : การตรวจประเมินภายในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามหลักมาตรฐานสากล 3
สวทบ๖๓๐ : การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยสำหรับภาคอุตสาหกรรม 3
สวทบ๖๓๑ : การจัดการระบบสิ่งแวดล้อมสำหรับอุตสาหกรรม 3
สวทบ๖๓๒ : แบบจำลองสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๓๓ : การจัดการก๊าชเรือนกระจก 3
สวทบ๖๓๔ : เทคโนโลยีอวกาศเพื่อการติดตามและเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 3
สวทบ๖๓๕ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และภูมิสถิติ เพื่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๓๖ : ภูมิสารสนเทศ 3
สวทบ๖๓๗ : วงปีไม้และการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม 3
สวทบ๖๓๘ : การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในอดีตและการประยุกต์ 3
สวทบ๖๓๙ : การประเมินความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้และนิเวศวิทยาเพื่องานทางด้านสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๔๐ : การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติในงานวิจัยด้วยชุดโปรแกรมสถิติเพื่อสังคมศาสตร์สำหรับวินโดว์ 3
สวทบ๖๔๑ : การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ 3
สวทบ๖๔๒ : เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 3
สวทบ๖๔๓ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ 3
สวทบ๖๔๔ : การจัดการพิบัติภัยทางธรรมชาติ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สวทบ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สวทบ๖๐๐ : วิธีเชิงระบบเพื่อเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๐๑ : การประเมินสิ่งแวดล้อมเชิงบูรณาการ 2
สวทบ๖๐๒ : การบูรณาการนิเวศวิทยาและสังคมศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๐๓ : เทคโนโลยีการจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๐๔ : ระเบียบวิธีวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๐๕ : สัมมนาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม 1
สวทบ๖๐๖ : การสำรวจและการวิเคราะห์ระบบทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1
สวทบ๖๐๗ : การศึกษาภาคสนามการประเมินสิ่งแวดล้อม 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สวทบ๖๑๐ : การจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ 3
สวทบ๖๑๑ : การจัดการปริมาณและคุณภาพของน้ำ 3
สวทบ๖๑๒ : นิเวศวิทยาสัตว์ป่าและการจัดการ 3
สวทบ๖๑๓ : นิเวศวิทยามนุษย์ในการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 3
สวทบ๖๑๔ : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 3
สวทบ๖๑๕ : ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินและดินเสื่อมโทรม 3
สวทบ๖๑๖ : เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อมและการประยุกต์เพื่อการจัดการมลพิษ 3
สวทบ๖๑๗ : เทคโนโลยีการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมโดยชีวภาพและพืช 3
สวทบ๖๑๘ : เทคโนโลยีสีเขียวสำหรับสิ่งแวดล้อมและพลังงานที่ยั่งยืน 3
สวทบ๖๑๙ : เทคโนโลยีในการจัดการของเสียอุตสาหกรรมและของเสียอันตราย 3
สวทบ๖๒๐ : เทคโนโลยีชีวมวลและพลังงานชีวภาพ 3
สวทบ๖๒๑ : ของเสียและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3
สวทบ๖๒๒ : การประยุกต์สารลดแรงตึงผิวในงานทางสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๓ : นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๔ : เครื่องมือและเทคนิคในการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 3
สวทบ๖๒๕ : การประเมินทางสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๖ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3
สวทบ๖๒๗ : การมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๘ : การสื่อสารสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๒๙ : การตรวจประเมินภายในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามหลักมาตรฐานสากล 3
สวทบ๖๓๐ : การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยสำหรับภาคอุตสาหกรรม 3
สวทบ๖๓๑ : การจัดการระบบสิ่งแวดล้อมสำหรับอุตสาหกรรม 3
สวทบ๖๓๒ : แบบจำลองสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๓๓ : การจัดการก๊าชเรือนกระจก 3
สวทบ๖๓๔ : เทคโนโลยีอวกาศเพื่อการติดตามและเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 3
สวทบ๖๓๕ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และภูมิสถิติ เพื่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๓๖ : ภูมิสารสนเทศ 3
สวทบ๖๓๗ : วงปีไม้และการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม 3
สวทบ๖๓๘ : การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในอดีตและการประยุกต์ 3
สวทบ๖๓๙ : การประเมินความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้และนิเวศวิทยาเพื่องานทางด้านสิ่งแวดล้อม 3
สวทบ๖๔๐ : การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติในงานวิจัยด้วยชุดโปรแกรมสถิติเพื่อสังคมศาสตร์สำหรับวินโดว์ 3
สวทบ๖๔๑ : การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ 3
สวทบ๖๔๒ : เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 3
สวทบ๖๔๓ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ 3
สวทบ๖๔๔ : การจัดการพิบัติภัยทางธรรมชาติ 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
สวทบ๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6

8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

มหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชานี้สามารถประกอบอาชีพได้อย่างหลากหลาย แต่อย่างไรก็ตาม เป้าหมายหลัก คือ 
การผลิตมหาบัณฑิตเข้าไปสู่ทั้งภาครัฐและเอกชนที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ในตำแหน่งต่างๆ เช่น
-  นักวิเคราะห์นโยบายและแผนด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
-  นักวิเคราะห์โครงการและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
-  นักวิชาการสิ่งแวดล้อม
-  นักเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม
-  นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
-  นักวิจัยด้านเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

9. รายละเอียดอื่นๆ

-

10. ทุนการศึกษาของหลักสูตร

นักศึกษาสามารถสมัครเข้าคัดเลือกทุนดังต่อไปนี้

ทุนจากแหล่งทุนภายในคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ เช่น

- ทุนสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท จากสมาคมศิษย์เก่าคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์

ทุนจากแหล่งทุนภายมหาวิทยาลัยมหิดลและภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล เช่น

- ทุนสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์บางส่วน สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

- ทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทบัณฑิตศึกษา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

- ทุนอุดหนุนการวิจัยแก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)

-

-

 

11. ค่าธรรมเนียมการศึกษา

ดูรายละเอียด ที่ https://graduate.mahidol.ac.th หัวข้อ อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา

12. ข้อมูลติดต่อ

ประธานหลักสูตร

Assist. Prof. Raywadee Roachanakanan

Email: raywadee.roa@mahidol.ac.th

Room 2310, Third Floor, Building 2

Faculty of Environment and Resource Studies, Salaya

Tel: 0 244 15000 ext. 2310 Fax: 0 244 19509-10

เลขานุการหลักสูตร

Dr. Pet Techarat

Email: p.techarat@gmail.com

Room 1222, Second Floor, Building 1

Faculty of Environment and Resource Studies, Salaya

Tel.: 02 441 5000 ext. 1235

ผู้ประสานงานหลักสูตร

Ms. Tanawan Kwanjai

Email: tanawan.kwa@mahidol.edu

Education Services Department, First Floor, Building 1, Salaya

Faculty of Environment and Resource Studies

Tel. 02 441 5000 ext. 1101


หมายเหตุ* การดำเนินการในการส่งเอกสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้สมัครเข้าศึกษา ผู้สมัครเข้าศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกให้มีสิทธิ์เข้าศึกษา จะต้องดำเนินการให้สถานศึกษาส่งบันทึกผลการศึกษาตลอดหลักสูตร (Transcript) ฉบับจริง ที่ระบุวันสำเร็จการศึกษา มายังบัณฑิตวิทยาลัยโดยตรงภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2562 หากไม่ดำเนินการตามวันที่กำหนด จะถือว่าสละสิทธิ์เข้าศึกษา ทั้งนี้บัณฑิตวิทยาลัยจะไม่รับเอกสารที่ไม่ได้ใส่ซองปิดผนึกประทับตรามหาวิทยาลัย

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ คลิกที่นี่


หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการสมัคร ติดต่อได้ที่ งานรับนักศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
โทรศัพท์ 0 2441 4125-38 ต่อ 110-115
gradthai@mahidol.ac.th