word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: LCCS530 : CONCEPTS AND THEORIES IN ETHNOMUSICOLOGY 3(3 -0 -0 )
วภวธ๕๓๐ : แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาการดนตรี 3(3 -0 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษาเป็นรายวิชาในหมวดวิชาเลือก
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
1 แนะนำรายวิชา introduction 3 - - -
2 ดนตรีวิทยาเปรียบเทียบและมานุษยวิทยาการดนตรี from comparative musicology to ethnomusicology 3 - 3 -
3 ดนตรี เสียง เสียงรบกวน และความเงียบ music, sound, noise and silent 3 - 3 -
4 ดนตรีและ ใน เป็น อยู่ คือ วัฒนธรรม music AND / IN / AS / IS culture 3 - 3 -
5 ชาติพันธุ์วรรณาดนตรี และการใช้ผลจากงานสนาม musical ethnography and the use of fieldwork 3 - - -
6 การตีความทางมานุษยวิทยา และมานุษยวิทยาการดนตรีกับสัญญลักษณ์ interpretive anthropology and semiotic ethnomusicology 3 - 3 -
7 สัญญะและวรรณกรรมท้องถิ่น semiotics and local poetics 3 - - -
8 วิกฤตของภาพตัวแทนและอำนาจของผู้เขียนในงานชาติพันธุ์วรรณา the crisis in representation and ethnographic authority 3 3 3 -
9 วัฒนธรรมมวลชนและดนตรีสมัยนิยม mass culture and popular music 3 3 3 -
10 ดนตรีสมัยนิยมในไทย popular music in Thai 3 - 3 -
11 สิ่งแวดล้อมในดนตรี soundscape (s) 3 3 3 -
12 มานุษยวิทยาการดนตรีประยุกต์ applied ethnomusicology 3 - - -
13 ดนตรีกับเพศสภาพ music and gender 3 3 - -
14 ดนตรี เชื่อชาติ และความเป็นชาติพันธุ์ music, race and ethnicity 3 3 3 -
15 ดนตรีกับรัฐชาติ music and nation 3 3 3 -
16 โลกาภิวัตน์กับดนตรี globalization and music สรุป ปิดคอร์ส 3 - - -