word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: LCLG507 : EDUCATIONAL LINGUISTICS 3(3 -0 -0 )
วภภษ๕๐๗ : ภาษาศาสตร์การศึกษา 3(3 -0 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์เป็นรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา 1. เพื่อให้เนื้อหามีความทันสมัยและเหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนในปัจจุบันมากขึ้น 2. เพื่อให้สอดคล้องกับการปรับปรุงหลักสูตรตามวงรอบ 5 ปี1. เพื่อให้เนื้อหามีความทันสมัยและเหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนในปัจจุบันมากขึ้น 2. เพื่อให้สอดคล้องกับการปรับปรุงหลักสูตรตามวงรอบ 5 ปี
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
          รองศาสตราจารย์ ดร. ศิริเพ็ญ  อึ้งสิทธิพูนพร
          สถานที่ติดต่อ :  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
          โทร : 02-8002308-12 ต่อ 3316  e-mail :ungsitipoonporn@yahoo.com
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
17 -ภาษาศาสตร์การศึกษาคืออะไร -ประวัติ และพัฒนาการของภาษาศาสตร์การศึกษา -ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาศาสตร์ กับการศึกษา -ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย และการจัดการศึกษา -การจัดการศึกษาที่คำนึงถึงพื้นฐานทางภาษาและวัฒนธรรมของผู้เรียน 2 1 6  รศ.ดร.ศิริเพ็ญ  อึ้งสิทธิพูนพร
1 - ธรรมชาติการเรียนรู้ภาษาของมนุษย์ (Acquiring a Language) -การรับภาษา (Language Acquisition) 3 0 6 -
2 การสอนภาษาที่ 1 การสอนภาษาที่ 2 และการสอนภาษาต่างประเทศ เพิ่มตัวอย่าง case study 2 1 6 -
4 -ภาษาศาสตร์เบื้องต้น -การประยุกต์ใช้ภาษาศาสตร์ในการศึกษา (Phonetics, Phonology Syntax, Semantic) ภาษาศาสตร์เชิงสังคม (Sociolinguistics) o การสัมผัสภาษา (Language contact) o Bilingualism and multilingualism o Diglossia o Language change and language variation o Language mixing, language switching, pidgin, and creole o Language shift, language loss, and language death (นศ.หาข้อมูลและอภิปรายในชั้นเรียน) 2 1 6  รศ.ดร.ศิริเพ็ญ  อึ้งสิทธิพูนพร
5 -สิทธิทางภาษา และนโยบายภาษาแห่งชาติ (นศ.หาข้อมูลเรื่องนโยบายภาษาแห่งชาติของประเทศที่สนใจและนำเสนอในชั้นเรียน) 2 1 5 -
6 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับภาษาศาสตร์การศึกษา ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theories) ?Development learning theory ? Schema theory ? Social learning theory ? Socio-cultural learning theory 2 1 5 -
7 ? อิทธิพลจากภาษาแม่ที่มีผลต่อการเรียนภาษาอื่นๆ การวิเคราะห์การเปรียบต่างระหว่างภาษา(Contrastive analysis) ?อันตรภาษา (interlanguage) ? Translanguaging (ทิ้งท้ายให้นศ.หาหัวข้อ/ประเด็นปัญหาเพื่อเขียนบทความในการแก้ไขการเรียนการสอน) 2 1 5  รศ.ดร.ศิริเพ็ญ  อึ้งสิทธิพูนพร
18 -แนวคิดและวิธีการในการสร้างระบบเขียน (สำหรับภาษาที่ยังไม่เคยมีภาษาเขียน) (Theory and practice in orthography development) - หลักการพัฒนาการการอ่านออกเขียนได้ของมนุษย์ (Literacy Principles) - การเชื่อมโยงเสียงกับอักษร, การถอดรหัส 3 0 5  รศ.ดร.ศิริเพ็ญ  อึ้งสิทธิพูนพร
27 หลักในการจัดการเรียนการสอน (Educational principles) ? Child-centered ? Know to unknown ? Bloom’s taxonomy ?Meaning and Accuracy แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับภาษาศาสตร์การศึกษา ?SUP and CUP ?Reading theory (top-down, bottom-up) ?BICS and CALP (นศ.นำเสนอการค้นคว้าบางส่วน) 2 1 5 -
20 -Mahidol Model การใช้ประโยชน์: กระบวนการฟื้นฟูภาษาและองค์ความรู้ท้องถิ่นโดยชุมชนและการหนุนเสริมทางวิชาการ (นศ.นำเสนอการค้นคว้าบางส่วน ในเรื่องรูปแบบการฟื้นฟูภาษาในประเทศต่างๆ) ? การสอนภาษาในภาวะวิกฤต (ในระบบโรงเรียน และ ในชุมชน) (Learning and Teaching for endangered language in School and community) 3 0 5  รศ.ดร.ศิริเพ็ญ  อึ้งสิทธิพูนพร
21 การใช้ประโยชน์ความรู้ทางภาษาศาสตร์สู่การจัดการศึกษาโดยใช้ภาษาแม่เป็นฐานการเรียนรู้ -การสอนแบบทวิภาษา โดยใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นฐานในการเรียนการสอน (MTB MLE) -การจัดการศึกษาในรูปแบบต่างๆ (Thomas & Collier) 2 1 5 -
22 - การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างวัฒนธรรม ICE (Intercultural education) 3 0 5 -
23 การออกแบบสื่อการสอนดิจิทัลที่สร้างสรรค์และเหมาะกับผู้เรียน 1 2 6 -
24 ศึกษาหาข้อมูลด้วยตัวเอง เพื่อเขียนบทความ 0 3 6  รศ.ดร.ศิริเพ็ญ  อึ้งสิทธิพูนพร
25 นำเสนอบทความ (หัวข้อ แนวคิดทฤษฎี และกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์) 0 3 5  รศ.ดร.ศิริเพ็ญ  อึ้งสิทธิพูนพร