word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: LCLG643 : SEMINAR IN EDUCATIONAL LINGUISTICS 3(3 -0 -0 )
วภภษ๖๔๓ : สัมมนาภาษาศาสตร์การศึกษา 3(3 -0 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์เป็นรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
22 1. Language education (การศึกษาที่ใช้ภาษาเป็นฐาน) 2. ภาษาศาสตร์การศึกษา (Educational linguistics) คืออะไร? 3. ความสำคัญและความสัมพันธ์ของภาษา ภาษาศาสตร์ การศึกษา และการพัฒนา(Language, linguistics, education, and social development) 4. ความหลากหลายของภาษาและชาติพันธุ์ในระดับโลกและระดับประเทศ (Language and ethnic diversity) 3 - - -
24 1. สิทธิเด็ก สิทธิทางภาษาและการศึกษา (Child rights, language rights, indigenous rights, and education) 2. นโยบายการศึกษาและนโยบายภาษา (Education policy and language policy) 3. ธรรมชาติการเรียนรู้ภาษา (ภาษาที่ 1 ภาษาที่ 2 และภาษาที่ 3 (L1, L2, L3) 4. โครงสร้างภาษา (Language structures) 3 - - -
25 1. ภาษาศาสตร์พื้นฐาน - สัทศาสตร์และสัทวิทยา (Phonetics & phonology) - วากยสัมพันธ์ (Morphology and syntax) - อรรถศาสตร์ (Semantics) 3 - - -
23 1. ภาษาศาสตร์เชิงสังคม (Sociolinguistics) - การสัมผัสภาษา (Language contact) - Bilingualism and multilingualism - Diglossia - Language change and language variation - Language mixing, language switching, pidgin, and creole - Language shift, language loss, and language death - Language revitalization - Language and identity 3 - - -
26 1. การเรียนรู้ภาษา/การรับภาษา (Language Acquisition) 3 - -  รศ. สิงหนาท  น้อมเนียน
27 1. การสอนภาษา (Language teaching) 3 - -  รศ. สิงหนาท  น้อมเนียน
28 1. การเปรียบต่างทางภาษา (Contrastive analysis) - แนวคิด ทฤษฎี - ปฏิบัติ 2 1 - -
29 1. การเปรียบต่างทางภาษา (Contrastive analysis) (ต่อ) 2 1 - -
30 1. การพัฒนาระบบตัวเขียน (Writing system) 2. แบบเรียนอ่าน-เขียน (Primer) 2 1 - -
31 1. การสำรวจสถานการณ์ทางภาษาและสถานการณ์การอ่านออกเขียนได้ (Language survey and literacy survey) 2 1 - -
32 1. การจัดการศึกษาแบบทวิ-พหุภาษา (Mother tongue-based Multilingual education) 2. แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theories) - Development learning theory - Schema theory - Social learning theory - Socio-cultural learning theory 3. หลักการและแนวคิดทางการศึกษา(Educational principles) 3 - - -
33 1. การจัดการศึกษาแบบทวิ-พหุภาษา (Mother tongue-based Multilingual education) (ต่อ) 2. แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theories) (ต่อ) - Development learning theory - Schema theory - Social learning theory - Socio-cultural learning theory 3. หลักการและแนวคิดทางการศึกษา(Educational principles) (ต่อ) 3 - - -
34 1. การจัดการศึกษาแบบทวิ-พหุภาษา (Mother tongue-based Multilingual education) (ต่อ) 2. แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theories) (ต่อ) - Development learning theory - Schema theory - Social learning theory - Socio-cultural learning theory 3. หลักการและแนวคิดทางการศึกษา(Educational principles) (ต่อ) 3 - - -
35 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า (Presentation I) - 3 - -
36 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า (Presentation II) - 3 - -
37 สรุปเนื้อหาและส่งรายงาน - 3 - -