word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: RSRS549 : BRAILLE I 3(2 -2 -0 )
รสวพ๕๔๙ : อักษรเบรลล์ ๑ 3(2 -2 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเป็นรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
1 - ประวัติอักษรเบรลล์และการพัฒนาอักษรเบรลล์ - Louis Braille ผู้คิดค้นอักษรเบรลล์และบุคคลสำคัญอื่นๆ -โครงสร้างอักษรเบรลล์ 4 0 5 -
2 - เทคนิคการอ่านและเขียนอักษรเบรลล์ที่เหมาะสม - การใช้ Slate และ Stylus - การใช้เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์ -การพิมพ์อักษรเบร์ลลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 2 5 -
3 - แนะนำอักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1 - การเขียนพยัญชนะและสระภาษาไทย - การเขียนเครื่องหมายและตัวเลข 2 2 5 -
4 - อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ1 (ต่อ) - กฎเกณฑ์การลดรูปสระสำหรับอักษรเบรลล์ ภาษาไทยระดับ 1 - ข้อแตกต่างระหว่างอักษรเบรลล์ไทยระดับ 1 และ ระดับ 2 2 2 5 -
5 - การจัดรูปแบบด้วยย่อหน้า หัวกระดาษและ กำหนดเลขหน้า - ฝึกการอ่านและเขียนอักษรเบรลล์ภาษาไทย - มอบหมายงานฝึกปฏิบัติระยะยาว พิมพ์หนังสือ อักษรเบรลล์ 0 4 5 -
6 - แนะนำอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษระดับ 1 (ไม่มีตัวย่อ) - ข้อแตกต่างระหว่างอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษ ระดับ 1 และอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษระดับ 2 - การเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ เครื่องหมาย และ ตัวเลข - การเขียนตัวอักษรกรีก และเลขโรมันภายใน ข้อความภาษาอังกฤษ 2 2 5 -
7 - อักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษ (ต่อ) - แนะนำอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษระดับ 2 (มีตัวย่อ) - กฎเกณฑ์การย่ออักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษระดับ 2 - ฝึกเขียนและอ่านอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษ 2 2 5 -
9 - อักษรเบรลล์สำหรับวิชาคณิตศาสตร์ - ระบบต่างๆ ของอักษรเบรลล์คณิตศาสตร์ - อักษรเบรลล์คณิตศาสตร์ระบบ Nemeth ขั้น พื้นฐาน - การเขียนตัวเลข สัญลักษณ์พื้นฐานและการเขียนเศษส่วน 2 2 5 -
10 - อักษรเบรลล์สำหรับวิชาวิทยาศาสตร์ - อักษรเบรลล์สำหรับวิชาเคมีระดับพื้นฐาน - คอมพิวเตอร์เบรลล์และการประยุกต์ใช้ 2 2 5 -
11 - อักษรเบรลล์สำหรับโน๊ตดนตรี - การกำหนดโน้ตเสียงและความยาว - ฝึกเขียนและอ่านโน๊ตดนตรีอักษรเบรลล์ 2 2 5 -
12 - อักษรเบรลล์สำหรับภาษาต่างๆ - ตัวอย่าง ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษสเปน ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาลาว, ภาษาเขมร - แนะนำแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับอักษรเบรลล์ - นักศึกษานำเสนอรายงาน 3 3 5 -
13 - การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพิมพ์อักษรเบรลล์ - เปรียบเทียบระหว่าง Slate เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์ และซอฟต์แวร์พิมพ์อักษรเบรลล์ - การใช้โปรแกรมแปลอักษรเบรลล์จากตัวอักษรปกติเป็นอักษรเบรลล์ - เปรียบเทียบการใช้ซอฟต์แวร์แปลอักษรเบรลล์และบุคลากรที่ชำนาญการพิมพ์อักษรเบรลล์ - ฝึกใช้ซอฟต์แวร์อักษรเบรลล์ Duxbury, Quickpaw, TBTW, 1 3 5 -
14 - การใช้เครื่องพิมพ์อักษรเบรลล์ - คุณสมบัติของเครื่องพิมพ์อักษรเบรลล์ - ฝึกใช้เครื่องพิมพ์อักษรเบรลล์ระดับพื้นฐาน Juliet, Bookmaker, Index 2 2 5 -
15 - แนะนำระบบผลิตสื่ออักษรเบรลล์ด้วยคอมพิวเตอร์ - ฝึกปฏิบัติการใช้ทักษะอักษรเบรลล์กับซอฟต์แวร์ด้านอักษรเบรลล์ และเครื่องพิมพ์อักษรเบรล์ 2 2 5 -
16 กิจกรรม - บรรยาย / ปฏิบัติสื่อ – เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์, เอกสารประกอบการสอน มาตรฐานอักษรเบรลล์, Unified English Braille (UEB), แบบฝึกหัด 2 2 5 -