word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: PRPR558 : ADVANCED STATISTICS FOR SOCIAL SCIENCE RESEARCH 3(2 -2 -0 )
วจปส๕๕๘ : สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ขั้นสูง 3(2 -2 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคมเป็นรายวิชาในหมวดวิชาเลือก
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
          อาจารย์ ดร. สรัญญา  สุจริตพงศ์
          สถานที่ติดต่อ :  สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
          โทร : +66 2441-0201-4 ext. 614  e-mail :sarunya.suj@mahidol.edu
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
1 หัวข้อบรรยายในรายวิชา, ความแตกต่างของวิธีวิเคราะห์แบบ dependence และแบบ interdependence, แนวทางในการเลือกวิธีวิเคราะห์, ประเภทของตัวแปร, ทบทวนหลักการวิเคราะห์ด้วยวิธีถดถอยเชิงเส้นพหุ (multiple linear regression) 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
2 วิธีถดถอยพหุเชิงเส้น (multiple linar regression): ข้อตกลงเบื้องต้นของ ordinary least square (OLS), วิธีการแก้ไข heteroscedasticity และ multi-collinearity, transformation, การสร้างและการเปรียบเทียบแบบจำลอง (model) ด้วย F-test 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
3 วิธีถดถอยแบบโลจิสติกที่ตัวแปรตามมีสองกลุ่ม (binary logistic regression): ทบทวนหลักการ, ข้อตกลงเบื้องต้น, การประเมินความสมรูปของสมการ (goodness of fit), การแปลผลค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยและค่า odd ratio, การเปรียบเทียบแบบจำลอง ด้วย log likelihood ratio test 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
4 วิธีถดถอยแบบโลจิสติกที่ตัวแปรตามมีมากกว่าสองกลุ่ม (multinomial logistic regression) 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
5 วิธีถดถอยแบบโลจิสติกที่ตัวแปรตามมีการวัดแบบลำดับ (ordered logistic regression) 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
6 สมการถดถอยเมื่อตัวแปรตามเป็นจำนวนนับ (Poisson regression, negative binomial and zero-inflated regression) 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
7 สมการถดถอยแบบพหุระดับ (multilevel regression models): หลักการและสถานการณ์ที่เหมาะสมกับการใช้ 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
8 สมการถดถอยแบบพหุระดับ (multilevel regression models): วิธีการวิเคราะห์ การแปลผล และการรายงานผล 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
9 ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาแบบระยะยาว (longitudinal data) และวิธีการวิเคราะห์แบบพาแนล (panel data analysis) 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
10 การวิเคราะห์การรอดชีพ (survival analysis) และแบบจำลองสมการถดถอย Cox proportional-hazard 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์
11 การวิเคราะห์ปัจจัย (factor analysis) 2 2 5  รศ.ดร.โยธิน  แสวงดี
12 การวิเคราะห์เส้นทาง (path analysis) และตัวแปรส่งผ่าน (mediator variable) 2 2 5  รศ.ดร.โยธิน  แสวงดี
13 การวิเคราะห์ด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation model) (1) 2 2 5  รศ.ดร.โยธิน  แสวงดี
14 การวิเคราะห์ด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation model) (2) 2 2 5  รศ.ดร.โยธิน  แสวงดี
15 นำเสนอ term paper 2 2 5  อ.ดร.สรัญญา  สุจริตพงศ์