word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: PRPR555 : QUANTITATIVE RESEARCH 3(2 -2 -0 )
วจปส๕๕๕ : การวิจัยเชิงปริมาณ 3(2 -2 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคมเป็นรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
1 แนะนำรายวิชา - สรุปข้อตกลง - วัตถุประสงค์ของรายวิชา - เนื้อหาภาพรวมของรายวิชา - วิธีการเรียนการสอน-บทบาท ของผู้เรียน และการวัดผล ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยทางสังคมศาสตร์: การวิจัยคืออะไร/ประเภทของการวิจัย/กระบวนการและขั้นตอนในการวิจัย/จริยธรรมการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (การบ้าน – ระดมความคิด หัวข้อการวิจัยที่สนใจ) 2 2 5 -
2 การพัฒนาโครงร่างการวิจัย: หลักการเขียนโครงร่างการวิจัย การกำหนดประเด็นปัญหา/หัวข้อการวิจัย/นิยาม/ วัตถุประสงค์ของการวิจัย และผลที่คาดว่าจะได้รับการกำหนดคำถาม (การบ้าน – นักศึกษากำหนดหัวข้อการวิจัย/ วัตถุประสงค์ คำถามวิจัย และคำนิยาม) 2 2 5 -
3 - นักศึกษานำเสนอ (1) (หัวข้อการวิจัย/ วัตถุประสงค์ คำถามวิจัย และคำนิยาม) การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิด: การทบทวนวรรณกรรม เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ลักษณะสำคัญ ที่มา และวิธีการเขียนกรอบแนวคิด (การบ้าน – นักศึกษาทบทวนวรรณกรรมในหัวข้อการวิจัยที่สนใจ) 3 1 7 -
4 สมมติฐานการวิจัยและตัวแปร: ความหมาย ความสำคัญ ลักษณะและ ประเภทของสมมติฐานการวิจัย การกำหนดตัวแปร ประเภทและนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร ระดับการวัดของตัวแปร การออกแบบการวิจัย (Research design) (การบ้าน – นักศึกษาระบุสมมติฐาน กำหนดตัวแปรในการวิจัยและออกแบบการวิจัย) 2 2 5 -
5 ประชากร และ การสุ่มตัวอย่าง (1): หน่วยวิเคราะห์ การประมาณขนาดตัวอย่าง หลักการในการสุ่มตัวอย่าง/ ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง (ทางทฤษฎี) (การบ้าน – นักศึกษาวางแผนการสุ่มตัวอย่าง) 2 2 5 -
6 การสุ่มตัวอย่าง (2): การสุ่มตัวอย่างในการสำรวจระดับประเทศ (การบ้าน – นักศึกษาวางแผนการสุ่มตัวอย่าง) 2 2 5 -
7 - นักศึกษานำเสนอ (2) (การทบทวนวรรณกรรม/ กรอบแนวคิด และ การสุ่มตัวอย่าง) การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ: วิธีการ หลักการและเทคนิคการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ การพัฒนาเครื่องมือการเก็บข้อมูล: (แบบสอบถาม) รูปแบบและประเภทของข้อคำถาม/การทดสอบเครื่องมือ (การบ้าน -นักศึกษาพัฒนาแบบสอบถาม) 3 1 7 -
8 การพัฒนาเครื่องมือการเก็บข้อมูล (ปฏิบัติ) 2 2 5 -
9 การเก็บข้อมูล online: หลักการ วิธีการ และประสบการณ์จากงานวิจัย 3 1 7 -
10 นักศึกษานำเสนอ (3) (โครงร่างการวิจัย และ เครื่องมือเก็บข้อมูล) การวางแผนและเตรียมการงานสนาม (ปฏิบัติ) 3 1 7 -
11 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ - หลักการวิเคราะห์ข้อมูล - ความเกี่ยวข้องของสถิติกับการวิจัย - สถิติประเภทต่าง ๆ และการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล 0 4 2 -
12 การเก็บข้อมูลภาคสนาม (ปฏิบัติ) 0 4 2 -
13 การจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล (ปฏิบัติ) 2 2 5 -
20 การเขียนรายงานการศึกษา/วิจัย (การบ้าน – นักศึกษาเตรียมการนำเสนอผลการวิเคราะห์ และเขียนรายงานการศึกษา) 2 2 5 -
19 นักศึกษานำเสนอ (4): (ผลการวิเคราะห์ข้อมูล/ผลการศึกษา) บทสรุปและบทส่งท้าย (Wrapping-up) 3 1 7 -
18 สอบวัดผลปลายภาค และ ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ 3 1 7 -